Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รา, 634 found, display 551-600
  1. ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
  2. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  3. มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
  4. มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  5. มนฺตน : (นปุ.) การปรึกษา, ฯลฯ. การกระซิบ, ความลับ, มนฺตฺ คุตฺตภสเน, ยุ. แปลง น เป็น ณ เป็น มนฺตณ. บ้าง.
  6. มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
  7. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  8. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  9. มหกมฺม : (นปุ.) การกระทำซึ่งการบูชา ฯลฯ, การกระทำซึ่งการสมโภช, การบูชา,ฯลฯ, การสมโภช, มหกรรม (การฉลองการบูชา).
  10. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  11. มิคาร : (ปุ.) มิคาระ ชื่อเศรษฐี.
  12. มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
  13. เมธงฺกร : (ปุ.) เมธังกร พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. วิ. เมธํ กโรตีติ เมธงฺกโร.
  14. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  15. ยถาคม : (นปุ.) ตามพระบาลี.
  16. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  17. โยนิโสมนสิการ : (ปุ.) การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย, การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันถูกทาง, การใส่ใจโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยแยบคาย, การพิจารณาโดยถี่ถ้วน, การพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วน, ความพิจารณาโดยถูกทาง, ฯลฯ.
  18. รจฺฉา : (อิต.) ถนน, ทาง, ทางเดิน, ตรอก, รอย, รอยขีด. วิ. รถสฺส หิตา รจฺฉา รทียติ ปถิเกหีติ วา รจฺฉา. รทฺ วิเลขเณ, โฉ. รทิตพฺพาติ วา รจฺฉา, รทนํ วิเลขนํ วา รจฺฉา.
  19. รชสฺสลา : (อิต.) หญิงมีฤดู, หญิงมีระดู, หญิงถึงผ้า. วิ. รชโยคา รชสฺสลา. สล ปัจ.
  20. รณรงฺค : (ปุ.) การไปสู่ที่ เป็นที่รบ, การถึงซึ่งที่เป็นที่รบ, รณ+องฺค (การไป) รฺ อาคม. การรบ, สนามรบ. รณ ลง องฺค สกัด. คำ ณรงค์ที่ไทยใช้ตัดมาจาก รณฺรงฺค.
  21. ลงฺฆน : นป. การกระโดด, การเต้น
  22. วิตฺถมฺภนฺ : นป. การสูบควัน, การกระจาย, การขยายตัว, การพอง
  23. วิยูหน : นป. การถอนออก, การกระจายไป
  24. สงฺฆกมฺม : นป. การกระทำของสงฆ์ ได้แก่ กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำในสีมา
  25. สนฺถมฺภนา : อิต. การกระด้าง
  26. สมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องด้วยดี, การถูกต้อง, การกระทบ, การกระทบกัน, การลูบคลำ, ความถูกต้อง, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, ผุส. สมฺผสฺเส, อ. ผุสสฺส ผสฺโส.
  27. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  28. สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
  29. สิกฺขาสาชีว : (ปุ.) การศึกษารและการครองชีพ.
  30. สิขณฺฑ : (ปุ.) หาง, หางนกยูง, จุก, ผมจุก, หงอน, แหยม ชื่อปอยผมที่เอาไว้เป็นกระจุกบนหัวนอกจากจุก.
  31. สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
  32. สุริย : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์, สุริยน, สุริยัน. วิ. โลกานํ สุรภาวํ ชเนตีติ สุริโย. สรตีติ วา สุริโย. สรฺ คติยํ, โย. สรสฺส สุริ. อนฺธการวิธมเนน สตฺตานํ ภยํ สุนาตีติ วา สุริโย. สุ หึสายํ, อิโย, รฺ อาคโม. กัจฯ ๖๗๓ รูปฯ ๖๖๗ ลง อิส ปัจ. แปลง ส เป็น ย.
  33. สุวีร : (ปุ.) สุวิระ ชื่อโอรสพระอินทร์, โอรสพระอินทร์. วิ. อติสเยน วิโรติ สุวีโร. อิตสเยน วา สูรตฺตา สุวีโร.
  34. โสรวาร : (ปุ.) วันเสาร์. ส. เสารวาร.
  35. หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
  36. หตลาภสกฺการ : (วิ.) มีลาภและสักการะเสื่อมแล้ว.
  37. หารี : (วิ.) ผู้ควารเพื่ออันนำไปซึ่งภาะระ วิ. ภารํ หริตุ ํ ยุตฺโตสีติ หารี. ณี ปัจ.
  38. อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
  39. อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
  40. อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
  41. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  42. อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
  43. อธิปตน : นป. การตกทับ, การกระโดดลง
  44. อนฺตรอนฺตรา : (อัพ. นิบาต.) ระหว่าง, ในระ-หว่าง, ละแวก.
  45. อนฺตร อนฺตรา : (อัพ. นิบาต.) ระหว่าง, ในระ- หว่าง, ละแวก.
  46. อนฺตรีป : (นปุ.) เกาะ.วิ. ทฺวิธาคตานมาปานมนฺตรคตํอนฺตรีปํ.แปลงอที่รเป็นอี.อการสฺสี.
  47. อนฺตลิกฺข : (ปุ.) อากาศเป็นที่เห็นซึ่งรูปในระ-หว่าง, อากาศ, กลางหาว, ประเทศมีรูปอันใคร ๆ พึงเห็นในระหว่าง.ส. อนฺตริกฺษ.
  48. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  49. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  50. อนุสฺสติ : (อิต.) อันระลึกเนืองๆ, ความระลึกบ่อยๆ, ความระลึกตาม, ความระลึกถึง, ความระลึก.วิ. อนุ ปุนปฺปุนํสรณํ อนุสฺสติ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-634

(0.0639 sec)