Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเค้า, เค้า, เข้า , then ขา, ขาคา, เข้, เข้า, เข้าเค้า, คา, เค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเค้า, 643 found, display 501-550
  1. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  2. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  3. คาม : (ปุ.) อันไป, การไป, การถึง, การต้อง. วิ. คมนํ คาโม. คมฺ คติยํ, โณ. การไปของ ช้างเป็นต้น. หตฺถาทีนํ คมนกฺริยา คาโม.
  4. คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
  5. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  6. คิมฺห : (ปุ.) เดือนเกิดแล้วในฤดูร้อน วิ. คิเมฺห ชาโต คิโมฺห. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รุปฯ ๓๖๒.
  7. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  8. โคกุล : (นปุ.) คอกของโค, คอกโค, วิ. คาโว กุลนฺตฺยตฺราติ โคกุลํ. กุลฺ สํขฺยาเณ, อ. คุณฺณํ กุลํ ฆรํ วา โคกุลํ.
  9. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  10. โคฏฺฐ : (นปุ.) ที่เป็นที่ดำรงอยู่ของโค, คอกโค. วิ. คาโว ติฏฺฐนฺตฺยตฺราติ โคฏฺฐ. โคสทฺทุปทํ. ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺสํโยโค. ดู คุฏฺฐ ด้วย.
  11. โคป : (ปุ.) คนผู้รักษาโค, คนเลี้ยงโค.วิ. คาโว ปาตีติ โคโป. โคปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โณ. อถวา, คาโว ปาเลตีติ โคโป. ปาลฺ รกฺขเณ, กฺวิ.
  12. โคปก โคปาล โคปิล : (ปุ.) คนเลี้ยงสัตว์, คนเลี้ยงโค, นายโคบาล. วิ. คาโว ปาเลตีติ โคปาโล. ศัพท์ต้น โคบทหน้า ปาลฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ศัพท์ที่สอง ปาลฺ ธาตุ ณ ปัจ. ศัพท์ที่สาม ปาธาตุ อิล ปัจ.
  13. โคมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีโค วิ. คาโว อสฺสาติ โคมา.
  14. โคมิก : (ปุ.) เจ้าของโค วิ. คาโว อสฺส อตฺถีติ โคมิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มฺ อาคม.
  15. โคลีส : (ปุ.) ไม้มวกใหญ่, ไม้สะคร้อ, ไม้ตะ โหนด. วิ. คาโว ลีหนฺตีติ โคลีโส. โคปุพฺ โพ, ลีหฺ อสฺสาทเน, อ, หสฺสโส.
  16. โคสขฺย โคสงฺขฺย : (ปุ.) คนเลี้ยงโค, คนเลี้ยง สัตว์, นายโคบาล. วิ. คาโว สํขฺยายตีติ โคสํโขฺย โคสงฺโขฺย วา. สํปุพฺโพ. ขฺยา คณเน,อ.
  17. โฆรวิส : (วิ.) มีพิษร้ายแรง, มีพิษกล้า. วิ. วิสํ อสฺส โฆรนฺติ โฆรวิโส ณ ปัจฺ ราคาทิตัท.
  18. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  19. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  20. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  21. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  22. จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  23. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  24. ฉตฺตปาณี : ป. ดู ฉตฺตคาหก
  25. ฉตฺตหตฺถ : ค. ดู ฉตฺตคาหก
  26. ฉินฺนก : (วิ.) ผ้าอัน...ตัดแล้ว วิ. ฉินฺนํ วตฺถํ ฉินฺนกํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ก สกัด.
  27. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  28. ชณฺณุ : นป., ชณฺณุกา อิต. เข่า
  29. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  30. ชนฺนุ ชนฺนุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. ดู ชณฺณุ.
  31. ชมฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชมฺพวํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. พฤทธิ์ อู เป็น อว โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๙.
  32. ชางฺฆณี : (อิต.) ขา, ขาอ่อน. ส. ชางฺคนี.
  33. ชาณุ : ป. เข่า
  34. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  35. ชานปท : (วิ.) ผู้อยู่ในชนบท วิ. ชนปเท วส- นฺตีติ ชานปทา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  36. ชานุ, ชานุก : นป. เข่า
  37. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  38. ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  39. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  40. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  41. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  42. ถูลงฺค : ค. ผู้มีอวัยวะ (แขนขา) อ้วนใหญ่
  43. ทพฺภปุปฺผ, - พปุปฺผ : นป. ดอกหญ้าคา
  44. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  45. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  46. ทุวงฺค : (นปุ.) องค์สอง, สององค์. วิ. เทวฺ องฺคานิ ทุวงฺศํ. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ วฺ อาคม.
  47. ทุหิตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ธิดา, บุตรี. วิ. ทุหติ พนฺธเว ปูเรตีติ ทุหิตา. ทุหฺ ปปูรเณ, ราตุ, ราโลโป. อิอาคาโม. หรือลง ริตุ ปัจ. ลบ รฺ.
  48. เทหก : นป. ดู เทห(เมื่อใช้ในรูปพหูพจน์ แปลว่า แขนขา)
  49. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  50. ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-643

(0.0462 sec)