Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เปา , then เบา, ปา, เป, เปะ, เปา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เปา, 655 found, display 151-200
  1. ปาสุก, ปาสุฬ : ป. ซี่โครง, โครงร่าง
  2. ปาหุน : ค. เพียงพอ
  3. ปาเหติ : ก. ให้ส่งไป
  4. เปมก : ป., นป. ความรัก
  5. เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
  6. เปยูส : (นปุ.) สุธาโภชน์. ดู ปียูส.
  7. เปสก : ป. ผู้ส่งไป
  8. เปสน : (นปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
  9. เปสนีย : (วิ.) อันบุคคลพึงส่งไป. ปิสฺ เปสเน, อนีโย.
  10. เปสิต : กิต. ส่งไปแล้ว
  11. เปสิ, - สิกา : อิต. ชิ้นเล็กๆ
  12. เปสุณ : นป. คำส่อเสียด
  13. เปสุณการก : ค. ผู้ทำการส่อเสียด
  14. เปสุณิก : ค. ผู้ส่อเสียด
  15. เปสุเณยฺย : (วิ.) อันเกื้อกูลแก่วาจาส่อเสียด, ส่อเสียด.
  16. เปเสติ : ก. ส่งไป
  17. รตฺตปา : (อิต.) ปลิง วิ. รตฺตํ รุธิรํ ปิวตีติ รตฺตปา. รตฺตปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ.
  18. อมตปา : (อิต.) อมตปะชื่อของเทวดา, เทวดา.วิ.อมตํปิวนฺตีติอมตปา.อมต+ปา+ณปัจ.
  19. กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
  20. กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
  21. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาลย ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  22. กุลปาลิกา : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, ลูกสาว- ผู้เชื่อฟัง, ลูกสาวผู้ปฏิบัติตามธรรมของ ตระกูล, ลูกสาวผู้รักษาตระกูล. วิ. กุลํ ปาเลตีติ กุลปาลิกา. กุลสทฺทุปฺปทํ, ปาลฺ รกฺขเณ, ณฺวุ, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  23. จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
  24. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  25. ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  26. ตสฺสปาปิยสิกา ตสฺสปาปิยฺยสิกา : (อิต.) ตัสสปาปิยสิกา ชื่อวิธีระงับอาบัติอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง
  27. ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
  28. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  29. ปวิชฺฌติ : ก. ขว้าง, ปา, แทง, ยิง
  30. พฺรหฺมปาริสชฺช : (ปุ.) พรหมปาริสัช ชื่อ พรหมชั้นที่ ๑ ใน ๒๐ ชั้น.
  31. รูปารมฺมณ : นป. รูปารมณ์
  32. สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
  33. สิถิล : ค. หย่อน, เบา
  34. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  35. อนุกมฺปา : (อิต.) ความไหวตาม, ฯลฯ.วิ.อนุปุนปฺปุนํกมฺเปติอตฺตาธารสฺสจิตฺตนฺติอนุกมฺปา.อนุปุพฺโพ, กมฺปฺ จลเน, อ, อิตฺถิ-ยํอา.ส.อนุกมฺปา.
  36. อนุปาทาย : กิต. ดู อนุปาทา
  37. อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
  38. อนุปารมฺภน : ค. ดู อนุปารมฺภ
  39. อปาจิอปาจี : (อิต.) ทิศใต้วิ.มชฺเฌมหิยํอณฺจติยสฺสํทิสายํรวิสาอปาจิอปาจีวา.ส. อาปจฺอปาจีอปาจีนฺ
  40. อปาจิ อปาจี : (อิต.) ทิศใต้ วิ. มชฺเฌ มหิยํ อณฺจติ ยสฺสํ ทิสายํ รวิ สา อปาจิ อปาจี วา. ส. อาปจฺ อปาจี อปาจีนฺ
  41. อุปจฺฉูภติ : ก. ขว้าง, ปา, เหวี่ยง, โยน
  42. อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
  43. อุปาทานิย : (วิ.) เกื้อกูลแก่อุปาทาน. วิ. อุปาทานานํ หิตํ อุปาทานิยํ. อิย ปัจ.
  44. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  45. อุปารมฺภ : ป., อุปารมฺภน นป. คำตำหนิ, คำคัดค้าน
  46. อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
  47. อุปาสิกา : (อิต.) หญิงผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, หญิงผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสิกา (หญิงผู้นับถือพระพุทธศาสนา). ส. อุปาสิกา.
  48. อุปาหนา : อิต. ดู อุปาหน
  49. โอปปาติก : (วิ.) ผูดเกิดขึ้นดุจลอยมาเกิด, ผู้ลอยมาเกิด. วิ. อณฺฑชลาพุสํเสเทหิวินา อุปติตฺวา วิย นิพฺพตฺตาติ โอปปาติกา.
  50. โอปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ประกอบในอุบาย. วิ. อุปาเยน อุปาเย วา นิยุตฺโตติ โอปายิโก. ชอบด้วยอุบาย วิ. อุปาเยน อนุจฺฉวิโกติ โอปายิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-655

(0.0592 sec)