Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เปา , then เบา, ปา, เป, เปะ, เปา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เปา, 655 found, display 451-500
  1. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  2. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  3. จมฺเปยฺย : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, มะม่วง, ต้นมะม่วง. วิ. ปฐมกาเล จมฺปา- นคเร ชาตตฺตา จมฺเปยฺโย เอยฺยปัจ.
  4. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  5. จิตฺตลหุตา : อิต. ความเบาแห่งจิต
  6. เจตก : (ปุ.) สัตว์อันเขาส่งไป. สัตว์สำหรับต่อ ( สัตว์พวกเดียวกัน), สัตว์ต่อ, จิฎฺ เจฏฺ วา เปสเน, จิต เปสนีเย วา, โณ, สตฺเถ โก. หรือลง ณฺวุ ปัจ. ถ้าลง ณฺวุ ก็ไม่ต้องลง ก สกัด.
  7. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  8. ชฐ : (ปุ.) ท้อง, พุง, ขอด, ปม. ชนฺ ปาตุภาเว, โฐ, นฺโลโป.
  9. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  10. ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
  11. ตจ : (ปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้. วิ. ตจติ สรีรํ ปาเลตีติ ตโจ. ตจฺ ปาลเน, อ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณ ปัจ.
  12. ตณฺฑุเลยฺย : (ปุ.) กระเพรา, มะพลับ. วิ. ตมียติ วิการ มาปาทียตีติ ตณฺฑุโล. ตณฺฑุลโต ชายตีติ ตณฺฑุเลยฺโย. เณยฺย ปัจ. เป็น ตณฺฑุลิย บ้าง.
  13. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  14. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  15. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  16. ตนุรุห : (นปุ.) ขน วิ. ตนุมฺหิ รูหตีติ ตนุรุหํ. ตนุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน ปาตุภาเว วา, อ.
  17. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  18. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  19. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  20. ตุสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความอยาก, ความกระหายน้ำ, ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อุตฺตํ.
  21. เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
  22. ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
  23. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  24. ทฺวิปท ทฺวิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง, มีสองเท้า. วิ. เทฺว ปทา ปทานิ วา ปาทา วา ยสฺส โส ทฺวิปโท ทฺวิปาโท วา. ส. ทฺวิปท.
  25. ทาย : (ปุ.) ป่า, หมู่ไม้, กอหญ้า, ทา อวขณฺฑนเฉทเนสุ. ทยฺ ทานคติหึสาสุ วา, โณ. แปลง อา เป็น อาย ถ้าตั้ง ทยฺ ธาตุ ก็ฑีฆะ.
  26. ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
  27. ทาว : (ปุ.) ป่า, ฟืน. ทวฺ เฉทเน, โณ. ส. ทาว.
  28. ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
  29. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  30. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  31. ทุคคต : (วิ.) ยาก, จน, ยากจน, เข็ญใจ. วิ. ทุ นินฺทิตํ คติ คมน มสฺสาติ ทุคฺคโต. ทุกฺเขน วา กิจฺเฉน คตํ คมนํ ยสฺส โส ทุคฺคโต. อถวา, ทุกฺเขน กิจฺเฉน คต คมนํ อนฺน ปานาทิลาโภ ยสฺส โส ทุคฺคโต . ส. ทุรฺคต.
  32. ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
  33. เทหนี : (อิต.) ธรณีประตู วิ. เทหํ เนติ ปเวเสนาติ เทหนี. เทหปุพฺโพ, นี ปาปุณเน, กฺวิ.
  34. ธมติ : ก. เป่า, พัด, ทำเสียง, เปล่งเสียง, จุดไฟ, ไหม้, เกรียม, ถลุง, หลอม
  35. ธเมติ : ก. พัด, เป่า, ทำเสียง, จุดไฟ
  36. ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
  37. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  38. นยน : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์, นัยน์ตา. วิ. เนติ อตตโน นิสสิตํ ปุคคลนติ นยนํ. นี ปาปุณเน, ยุ. อภิฯ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. นยตีติ นยนํ นียติ เอเตนาติ วา นยนํ. นี นยเน. การถึง, การบรรลุ, การได้, การนำ, การนำไป, ความถึง, ฯลฯ. วิ. นยนํ คมนํ นยนํ ส. นยน.
  39. นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  40. นานารูป : (วิ.) มีรูปต่างๆ, มีรูปมีประการ ต่างๆ, มีมากอย่าง, มีต่างๆ อย่าง. วิ. นานปฺปการา รูปา ยสฺส โส นานารูโป.
  41. นายก : (ปุ.) พระนายก พระนามของ พระพุทธเจ้าทั้งปวง วิ. สํสารณฺณวโต นิพฺพานปารํ สตฺเต เนตีตี นายโก. นี ปาปุณเน, ณวุ.
  42. นิกร : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, หมวด, คณะ. วิ. อวยวํ สมีเป กโรตีติ นิกโร. ส. นิกร.
  43. นิคฺโฆส : (วิ.) เอิกเกริก, กึกก้อง, เกรียวกราว. นิสทฺดท ปาตุภาเว.
  44. นิช : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. โส เอว นิโช. แปลง ย เป็น ช สมีเป ชายตีติ วา นิโช. อภิฯ. ผู้เกิดแต่ตน (ลูก). รูปฯ ส. นิช.
  45. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  46. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  47. นิมิ : (ปุ.) พระเจ้านิมิราช วิ. สุคติ เนติ ปาเปตีติ นิมิ นเย, มิ.
  48. นิยติ : (อิต.) โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. สุภาสุภผลํ เนตีติ นิยติ. นิ ปาปุณเน, ติ. และ อ อาคมท้ายธาตุ.
  49. นิยฺยาน : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรม เครื่องนำออก. นิปุพฺโพ, ยา คติปาปุเณสุ. ยุ.
  50. นิวห : (ปุ.) ฝูง, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ. นิปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ. วิ. นิสฺเสสโต วหติ อวยวนฺติ นิวโห. ส. นิวห.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-655

(0.0326 sec)