Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องสุขภัณฑ์, สุขภัณฑ์, เครื่อง , then ครอง, ครองสขภณฑ, เครื่อง, เครื่องสุขภัณฑ์, สุขภัณฑ์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องสุขภัณฑ์, 722 found, display 601-650
  1. อารมฺภกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวเริ่มต้น, คำกล่าวเริ่มต้น, คำเริ่มต้น, คำปรารภ, คำนำ.ส.อารมฺภกถา.
  2. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  3. อารมฺมณปจฺจย : ป. ปัจจัยหรือเครื่องสนับสนุนคืออารมณ์
  4. อาราหตฺถ : ป. เครื่องเจาะ, สว่าน, บิดหล่า
  5. อาเลป : ป. น้ำมันสำหรับนวด, เครื่องฉาบทา, การฉาบทา
  6. อาวฏฺฏน : นป. ความวนเวียน, ความงงงวย, เครื่องล่อ, การถูกมารดลใจ
  7. อาวิธ : ป. เครื่องเจาะ, เครื่องไช, สิ่ว, สว่าน
  8. อาวุธ : (นปุ.) เครื่องประหาร, เครื่องรบ, อาวุธ. อาปุพฺโพ, ยุธฺ สมฺปหาเร, อ, ยสฺส โว. ส. อายุธ.
  9. อาเวลา : อิต. พวงมาลัย, เครื่องประดับศีรษะ, อุบะ
  10. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  11. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  12. อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
  13. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  14. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  15. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  16. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  17. อิลฺลี : (อิต.) อิลลี ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน ชื่อ เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า. เป็น อิลี โดยไม่แปลง ล เป็น ลฺล บ้าง.
  18. อิสฺสริยาภรณ : (นปุ.) เครื่องประดับอันยิ่งใหญ่, อิสริยาภรณ์ (เครื่องประดับเกียรติยศ).
  19. อุกฺขลิ : อิต. หม้อหุงข้าว, เครื่องหุงต้ม
  20. อุคฺคตฺถน, - คฏฐน : นป. เครื่องประดับ, กระจุ๋มกระจิ๋ม, ฟองไข่มุก
  21. อุคฺฆาฏน : นป. เครื่องปิด, ครุ, ถัง
  22. อุจฺฉาทน : (นปุ.) เครื่องอบ. อุปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, ยุ.
  23. อุจฺฉุยนฺต : นป. โรงหีบอ้อย, เครื่องหีบอ้อย
  24. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  25. อุฏณฺฑ, อุฏฏณฺฑ : นป. กระท่อมหรือเรือนที่มีเครื่องกั้น
  26. อุณฺณต : (นปุ.) เครื่องประดับหน้าผาก. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, โต. ลบที่สุดธาตุ แปลง น เป็น ณ ซ้อน ณฺ เป็น อุนฺนต บ้าง. ฏีกาอภิฯ แก้เป็น สุวณฺณาทิรจิตํ นลาฏา ภรณํ.
  27. อุณฺหิต : (นปุ.) มงกุฏ, หมวก, เครื่องประดับ หน้า. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โต, อิอาคโม.
  28. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  29. อุตฺตรจฺฉท : ป. เครื่องลาดมีเพดาน, เครื่องปกปิด, เครื่องคลุม
  30. อุตฺตรปฺปจฺฉท : ป. เครื่องปิด, ฝาครอบ
  31. อุตฺตรวตฺติ : อิต. กระบอกฉีดเล็กๆ , เครื่องฉีด
  32. อุทฺทณฺฑ : นป. กระท่อมชนิดหนึ่ง, กุฎีหรือเรือนที่มีเครื่องกั้น
  33. อุทฺทโลมิ : ป. เครื่องลาดมีชายทั้งสองข้าง
  34. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  35. อุทฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจองจำ, พวง, มัด, คำเป็นที่รวบรวมไว้ คือรักษาไว้มิให้กระจัดกระจาย. อุปุพฺโพ, ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. เท รกฺขเณ วา, ยุ.
  36. อุนฺนก : นป. เครื่องหอม, เครื่องสำอาง
  37. อุปกฺกิเลส : ป. อุปกิเลส, กิเลสเครื่องเศร้าหมอง
  38. อุปกรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การช่วยเหลือ, การส่งเสริม, ความอุดหนุน, ฯลฯ, เครื่องมือ, เครื่องใช้. อุปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. ส. อุปกรณ.
  39. อุปการ : (ปุ.) คุณเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, ฯลฯ (ดู อุปกรณ)ความอุดหนุน, ฯลฯ, ประโยชน์, อุปการะ. วิ. อุปคนฺตฺวา กโรตีติ อุปกาโร. ณ ปัจ. ส. อุปการ.
  40. อุปการิก : (วิ.) ผู้มีคุณเครื่องทำซึ่งการ อุดหนุน, ฯลฯ.
  41. อุปกิริยา : อิต. เครื่องมือ, เครื่องอุปกรณ์
  42. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  43. อุปตฺถร : ป. เครื่องปู, เครื่องลาด, พรม, ผ้าปู
  44. อุปทฺทว : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปประทุษ ร้าย, อันตรายเครื่องเข้าไปเบียดเบียน, ความคับแค้น, ความลำบากยากแค้น. ความอัปรีย์, ความจัญไร, จัญไร, อันตราย, อุปัททวะ, อุบาทว์. วิ. อุปคนฺตวา ทุโนตีติ อุปทฺทโว. อุปปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป หึสายํ วา, อ. อุปคนฺตฺวา ทวตีติ วา อุปทฺทโว. อุปทวนํ วา อุปทฺทโว. ส. อุปทฺรว.
  45. อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
  46. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  47. อุปธิก : ค. มีอุปธิ, มีเครื่องผูกพัน, มีกิเลสเป็นเหตุให้เวียนเกิด
  48. อุปเธยฺย : นป. เครื่องรองรับ
  49. อุปนทฺธิ : (อิต.) กิเลสชาติเครื่องผูกพัน, การผูกพัน, การมัด, การรัด, การร้อยรัด. อิ. ปัจ.
  50. อุปปริกฺขา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องเข้าไปเห็น.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-722

(0.0797 sec)