Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องโทรสาร, เครื่อง, โทรสาร , then ครอง, ครองทรสาร, เครื่อง, เครื่องโทรสาร, โทรสาร .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องโทรสาร, 722 found, display 451-500
  1. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  2. สมฺปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องยังบุคคลให้ถึงพร้อม, คำเชิญ. ส. สมฺปท.
  3. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  4. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  5. สมฺพาหณ : (นปุ.) การชักไปด้วยดี, การขยำ, ฯลฯ, เครื่องนวด, เครื่องดัด. ยุปัจ.
  6. สมฺโพชฺฌ : (ปุ.) ความรู้พร้อม, ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ ณ ปัจ.
  7. สมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้.
  8. สมฺโพธา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้.
  9. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  10. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  11. สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
  12. สมฺมาวายาม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเพียรชอบ วิ. สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ สมฺมาวายาโม. สมฺมาปุพฺโพ, วายมฺ อีหายํ, โณ. ความเพียรชอบ. วิ. สมฺมา วายาโม สมฺมาวายาโม. วิเสสยบุพ, กัม.
  13. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  14. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  15. สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
  16. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  17. สหายตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ประชุมแห่งสหาย. ตา ปัจ. ภาวตัทและสมุหตัท. ความเป็นสหาย, คุณชาติ เครื่องเป็นสหาย.
  18. สฬายตน : (นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
  19. สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
  20. สาธารณูปโภค : (ปุ.) เครื่องใช้สอยทั่วไป, เครื่องใช้สอยอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป. สาธารณ+ชน+อตฺถ+อุปโภค. ลบ ชน และ อตฺถ. สาธารณูปโภค (การประกอบกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป).
  21. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  22. สาพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกสุนัข. วิ. สานํ สุนขานํ พนฺธนำสาพนิธนํ.
  23. สามิส : ค. ประกอบด้วยเครื่องล่อ
  24. สิขาพนฺธ : (นปุ.) เครื่องผูกมวยผม.
  25. สินาน : (นปุ.) การอาบ, การอาบน้ำ, เครื่องสนาน, เครื่องสำอาง, เครื่องอาบน้ำ. สินา โสจยฺเย, ยุ.
  26. สิพฺพนี สิพฺพินี : (อิต.) ธรรมชาติอันร้อยรัด, ธรรมชาติอันรัดรึง (ผูกแน่น), ธรรมชาติเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ตัณหาเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ธรรมชาตผูกเย็บ (ผูก) ภพเป็นต้น ไว้ด้วยภพเป็นต้น, ตัณหา. วิ. ภวาทีหิ ภวาทโย สิพฺพตีติ สิพฺพนี สิพฺพินี วา. อี อินี อิต.
  27. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  28. สีลกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาซึ่งศีล, กถาพรรณาศีล, สีลกถา, ศีลกถา.
  29. สีลาวรรณ : (นปุ.) เครื่องกำบังศีรษะ, หมวก.
  30. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  31. สุชา : (อิต.) สุชา ชื่อทัพพีสำหรับตักเครื่องสังเวยเพื่อบูชายัญ. วิ. หวฺยนฺนาทีนํ สุขคหณคฺถํ ชายตีติ สุชา.
  32. สุรภิ : (ไตรลิงค์.) ของหอม, เครื่องหอม, สารภี ชื่อต้นไม้ดอกหอมใช้ทำยาไทยอยู่ในกลุ่มเกสรทั้งห้า. วิ. สุฎฺฐุ รภนฺติ ตุสฺสนฺตฺยเน เนติ สุรภิ. รภฺ ตุสฺสเน, อิ. พิมเสน ก็แปล. ส. สุรภิ.
  33. สุวณฺณลงฺการ : (วิ.) ผู้มีเครื่องประดับอันบุคคลทำแล้วด้วยทอง, ผู้มีเครื่องประดับเป็นวิการแห่งทอง. ฉ. พหุพ.
  34. สูจิ : (อิต.) เข็ม, คำชี้แจง, คำประกาศ, เครื่องชี้, รายการ, สารบัญ, ตาล, กลอน, ลิ่ม. วิ. สูเจติ คฒมคฺคนฺติ สูจิ. สูจฺ ปกาสเน, อิ. ส. สูจิ, สูจี.
  35. สูล : (ปุ. นปุ.) ความจุกเสียด, ความเสียดแทง, ขวากเหล็ก, หอก, หลาว, เครื่องแทง. สูลฺ รุชายํ, อ. ส. ศูล.
  36. เสรุส : (ปุ.) กระจับ ชื่อเครื่องผูกตีนม้าสำหรับหัดให้เต้น สะบัดตีน. สรฺ จินฺตายํ, อูโส, อสฺเส.
  37. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  38. หตฺถปฺปสารณฎฺฐาน : (นปุ.) เครื่องผูกข้อมือ.
  39. หพฺย หวฺย : (นปุ.) ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู ทาเน, โ ณฺย.
  40. หวฺยปาก : (ปุ.) ภาชนะเครื่องสังเวย, ถาดเครื่องเซ่นสังเวย. วิ. หวฺยสฺส ปาโก หวฺยปาโก, แปลว่าเครื่องเซ่นสังเวยก็ได้.
  41. หวิ : (นปุ.) การให้, การบูชา, ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู หพฺย ทาเน, อิ.
  42. หิริโกปินปฎิจฺฉาทน : (นปุ.) ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเฉพาะซึ่งอวัยวะอันยังหิริให้กำเริบ, ผ้าปิดของลับ.
  43. หุต : (นปุ.) เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, เครื่องบูชา. หุ หพฺยปฺปทาเน, โต. เชื้ออันบุคคลให้. หุ ทาเน.
  44. เหติ : (อิต.) ศัตรา, อาวุธ, ศัตราวุธ, เครื่องรบ, ขอ, หอก, หลาว. วิ. หรติ ชีวิตนฺติ เหตุ. หรฺ หรเณ, ติ, อสฺเส, รฺโลโป.
  45. โหม : (ปุ.) ข้าวเทวดาอันบุคคลบวงสรวง วิ. หุยฺยเตติ โหโม. หุ หพฺยปฺปทาเน, โม, อุสฺโส. เครื่องบูชา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การสังเวย. วิ.หวนํ โหโม. ส. โหม.
  46. อกิญฺจน : (วิ.) มีกิเลสเครื่องกังวลไม่มี, ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล, ไม่มีกิเลสชาตเครื่องกังวล, ไม่มีความกังวล, ไม่มีห่วงใย, ปลอดโปร่ง. นปุพฺโพ, กิจิ มทฺทเนทเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม,
  47. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  48. อกิริยวาท : (วิ.) ผู้มีวาทะว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีวาทะว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีลัทธิเป็นเครื่องกล่าวกรรมไม่ชื่อว่าอันบุคคลทำ, ฯลฯ.
  49. อคฺครุ : (นปุ.) กำยาน, ชื่อวัตถุเครื่องหอม ซี่งเกิดจากชันหรือยางที่ออกจากเปลือกของต้นไม้บางชนิด.
  50. อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-722

(0.0483 sec)