Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งเค้า, เค้า, ตั้ง , then คา, เค้า, ตง, ตงคา, ตั้ง, ตั้งเค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งเค้า, 723 found, display 401-450
  1. อภิเสก : (ปุ.) อันรดด้วยคุณอันยิ่ง, การรดน้ำ, การได้บรรลุ, อภิเษกคือการแต่งตั้งโดยทำพิธีรดน้ำเช่นพิธีเสวยราชย์ของพระเจ้าแผ่นดิน.ส. อภิเษก.
  2. อรญฺญิก : (วิ.) ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นวัตร.วิ.อรญฺเญวสนํสีลมสฺ-สาติอรญฺญิโก.อรญฺเญวาวสนสีโลอรญฺญิโก.ผู้อยู่ในวิหารอันตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญปติฏฺฐวิหาเรวสตีติอรญฺญิโก.มีอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญอตฺถีติอรญฺญิโก อรญฺเญภโววาอรญฺญิโก.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอรญฺญิโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  3. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  4. อรุโณทย : (ปุ.) การขึ้นไปแห่งอรุณ, การตั้งขึ้นแห่งอรุณ, อรุโณทัยอโณทัย(พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น).ส.อุษสฺ
  5. อโรปิต : ค. ไม่ปลูก, ไม่ตั้งไว้
  6. อวฏฺฐาน : นป. ฐานะ, ตำแหน่ง, ที่ตั้ง
  7. อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
  8. อวตฺถาน : (นปุ.) การตั้งอยู่, ฯลฯ, ความตั้งอยู่, ฯลฯ.ยุปัจ.
  9. อวติฏฺฐติ : ก. ตั้งลง, ยึดมั่น, ยืนนิ่ง
  10. อวฺหายิก : ๑. ป. ผู้ตั้งชื่อ, ผู้ขนานนาม ; ๒. ค. ซึ่งเรียกชื่อ, ซึ่งให้ชื่อ
  11. อวินิธาย : ค. ไม่เข้าไปตั้งไว้ผิด, ไม่แสดงออกผิด
  12. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  13. อสณฺฐิต : ค. ไม่ตั้งมั่น, ไม่มั่นคง
  14. อสมฺมต : ค. ไม่ถูกสมมติ, ไม่ถูกแต่งตั้ง, ไม่ถูกอนุมัติ
  15. อสมาหิต : ค. ไม่ตั้งมั่น, ไม่ประกอบพร้อม
  16. อสมุฏฺฐิต : ค. ไม่ตั้งขึ้น, ไม่อุบัติขึ้น
  17. อสฺสฏฺฐอสฺสตฺถ : (ปุ.) ไม้โพธิ์, ต้นโพธิ์.วิ.อสฺสํสพฺพญฺญุตญาณํติฏฺฐติเอตฺถาติ อสฺสตฺโถ.อภิฯ อสฺส+ฐิตแปลงฐิตเป็นตฺถฏีกาอภิฯอสฺส+ฐซึ่งสำเร็จรูปมาจากฐาธาตุอปัจ.แปลงฐ เป็น ถแล้วแปลงถเป็นตฺถศัพท์ต้นแปลงตฺถ เป็นฏฺฐ.ถ้าตั้งฐา, ถาธาตุก็แปลงฐเป็นฏฺฐ, ถเป็นตฺถหรือตั้งอาปุพฺโพ, สาสฺอนุสิฏฺฐิ-โตสเนสุ.ลงอปัจ. ประจำหมวดธาตุและตปัจ.แปลงตเป็นฏฺฐ, ตฺถรัสสะอาทั้งสองเป็นอ.
  18. อสฺสตฺถ : (ปุ.) อัสสัตถพฤกษ์พระมหาบุรุษทรงประทับบนบัลลังก์ซึ่งตั้งอยู่โคนต้นไม้นี้บำ-เพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้.อมฺหากํภควโตโพธิรุกฺโข.แปลว่าต้นไม้ที่ม้าต้องการ, ต้นไม้ที่ม้าชอบบ้าง.อสฺส+อตฺถ.
  19. อากาสฏฺฐกเทวตา : (อิต.) เทวดาผู้มีวิมานตั้งอยู่ในอากาศ, เทวดาผู้อยู่ในอากาศ.
  20. อาจารโคจร : ค. ผู้ประพฤติปฏิบัติในทางที่ดี, ผู้ตั้งมั่นอยู่ในมรรยาทที่ดี
  21. อาฐปนา : อิต. การตั้ง, การประดิษฐาน
  22. อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
  23. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  24. อาทีนว : (ปุ.) โทษอันยังทุกข์ให้เป็นไปโดยยิ่ง, โทษเครื่องถึงทุกข์, โทษ.วิ.อา ภุโสทีนํวายติคมยตีตฺยาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วิคมเน, อ.อาทีนํวาติอธิคจฺฉติเอเตนาติวาอาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วาอาทาเน, อ.หรือตั้งอาปุพฺโพ, ทีนฺทุคฺคตภาเว, โว. ส.อาทีนว.
  25. อาธาน : (นปุ.) การทรงไว้, การตั้งไว้.อาปุพฺโพ, ะาธารเณ, ยุ.
  26. อาธารณตา : อิต. ความตั้งมั่น, สมาธิ, ความตั้งใจมั่น
  27. อาปนฺนสตฺตา : (อิต.) หญิงมีสัตว์อยู่ในครรภ์, หญิงมีครรภ์.วิ.อาปนฺโนคพฺภฏฺโฐสตฺโตเอตายาติอาปนฺนสตฺตา.อาปนฺนตั้งอยู่แล้วดำรงอยู่แล้ว.
  28. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  29. อารญฺญก, - ญก : ค. ผู้อยู่ป่า, ผู้มีปกติอยู่ในป่า, ตั้งอยู่ในป่า, เกิดอยู่ในป่า
  30. อารญฺญิก : (วิ.) แปลและตั้งวิ. เหมือนอารญฺญกณิก ปัจ.ตรัท๎ยาทิตัท.รูปฯ ๓๖๐.
  31. อารทฺธจิตฺต : ค. มีจิตอันปรารภความเพียรแล้ว, มีจิตตั้งไว้แล้ว
  32. อารทฺธวิริย : ค. ผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว, ผู้เริ่มตั้งความเพียร
  33. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  34. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  35. อาสตฺติ : (อิต.) ความตั้งหน้า, ฯลฯ. ติ ปัจ.
  36. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  37. อุกฺกชฺชติ : ก. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  38. อุกฺกณฺณ : ค. มีหูชัน, มีหูตั้งขึ้น
  39. อุกฺกุชฺช : ค. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  40. อุกฺกุชฺเชติ : ก. หงาย, ให้ตั้งขึ้น, เปิดเผย
  41. อุฏฐหติ : ก. ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, ก่อ, พยายาม, ขยัน
  42. อุฏฐาน : นป. การลุกขึ้น, ความพยายาม, การเริ่มตั้งความเพียร, ความบากบั่นของบุรุษ
  43. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  44. อุฏฺฐา น : (วิ.) ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, กล้า, ขยัน, หมั่น, เพียร.
  45. อุฏฐาเปติ : ก. ให้ลุกขึ้น, ให้ตั้งขึ้น; สนทนา
  46. อุฏฐิต : ๑. กิต. ตั้งขึ้นแล้ว, ลุกขึ้นแล้ว; ๒. ค. ผู้ขยัน, ผู้ลุกขึ้นประกอบการงาน
  47. อุทฺทิฏฐ : กิต. ชี้แจง, ยกขึ้นอ้าง, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  48. อุทฺทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, นัดหมาย, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  49. อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
  50. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0694 sec)