Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องทำความเย็น, เครื่อง, ทำความ, เย็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องทำความเย็น, 769 found, display 251-300
  1. ธมฺมกลา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำอันเป็นธรรม.
  2. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  3. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  4. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  5. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  6. ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งะรรมเป็นเครื่องตรัสรู้คือการเลือกเฟ้นซึ่งธรรม ฯลฯ.
  7. ธมฺมสากจฺฉา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว กับเป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม, การสนทนาซึ่งธรรม, การสนทนาธรรม.
  8. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  9. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  10. ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  11. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  12. ธีมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มีปัญญา. วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีมา. มนฺตุ ปัจ.
  13. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  14. ธุตงฺค : นป. ธุดงค์, องคคุณเครื่องกำจัดกิเลส, การปฏิบัติของนักพรต
  15. ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
  16. ธูป : (ปุ.) ธูป เครื่องหอมสำหรับจุดเอาควันลม เครื่องหอมสำหรับจุดบูชา. ธูปฺ สนฺตาเป, อ. ส. ธูป.
  17. ธูปน : (นปุ.) การอบ, การรม, การอบควัน, เครื่องหอม, เครื่องฉุน, เครื่องเทศ. ธูปฺ สนฺตาเป, ยุ.
  18. โธปติ : ก. ล้าง, ทำความสะอาด
  19. โธปน : นป. การล้าง, การชำระ, การทำความสะอาด
  20. โธวิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การล้าง, การซัก, การชำระ, การทำให้สะอาด, การทำให้หมดจด; เพื่อล้าง, เพื่อซัก, เพื่อชำระ, เพื่อทำความสะอาด, เพื่อให้หมดจด
  21. นขทารณ : (ปุ.) นกผู้มีเล็บเป็นเครื่องทำลาย สัตว์อื่น, นกผู้ทำลายสัตว์อื่นด้วยเล็บ, เหยี่ยว ชื่อนกจำพวกหนึ่งมีหลายชนิด มีเล็บยาวและคม โฉบสัตว์ที่เล็กกว่ากิน เป็นอาหาร.
  22. นขลิขิต : (นปุ.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, การเขียนทำเหมือนรูปเล็บ, นขลิขิต. ไทยใช้ นขลิต เป็นชื่อของเครื่อง หมายรูปดังนี้ ( ) เรียกว่าวงเล็บเปิด วงเล็บปิด.
  23. นครโสธก : ป. ผู้ทำความสะอาดเมือง
  24. นงฺคล : (นปุ.) ไถ ชื่อเครื่องมือสำหรับไถดิน วิ. ภูมินงฺคํ กโรนฺโต ลุนาตีติ นงฺคลํ, ภูมินงฺคํ กโรนฺโต ลุนาตีติ นงฺคลํ. ภูมินงฺคปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, ภูมิโลโป.
  25. นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
  26. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  27. นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
  28. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  29. นยนเนตต : (นปุ.) ตาเป็นเครื่องนำไป, นัยน์ เนตร (ดวงตา).
  30. นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
  31. นฺหาน : (วิ.) เป็นเครื่องอาบ, เป็นที่อาบ.
  32. นหานจุณฺณ : นป. จุณสำหรับอาบน้ำ, เครื่องลูบไล้, เครื่องทา, ผงสำหรับถูตัวเวลาอาบน้ำ
  33. นฺหาปก : (ปุ.) พนักงานเครื่องสรง.
  34. นฺหาปน : (นปุ.) การให้อาบ, เครื่องอาบน้ำ.
  35. นาควีฏ : (ปุ.) คราด ชื่อเครื่องมือ ทำเป็นซี่ๆ มีด้ามสำหรับถือ สำหรับชักหรือลาก ขี้หญ้าหรือหยากเยื่อ คราดขนาดใหญ่ เทียมวัวหรือควาย ๑ คู่ สำหรับทำไร่ ทำนา.
  36. นานากรณ : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องกระทำ ต่างๆกัน.
  37. นาราจ : (ปุ.) เครื่องสังหารหมู่มนุษย์, ลูกศร. นาร+อา+จกฺ+ร ปัจ. ส. นารจ.
  38. นาห : (ปุ.) เครื่องผูก, เครื่องดักสัตว์, แร้ว, การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, นหฺ พรฺธเน, โณ. ส. นาห.
  39. นาฬิ : อิต. ทะนาน, เครื่องตวง; ลำต้น, กล้อง, หลอด
  40. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  41. นิกฺข : (ปุ. นปุ.) นิกขะชื่อมาตราเงิน๕สุวัณณะเป็น๑นิกขะ,ลิ่ม,แท่ง,ทอง,เครื่องประดับ,การจูบ,การจุมพิต.นิปุพฺโพ,กนฺทิตฺติคตติกนฺตีสุ,อ,นสฺสโข.ส.นิษฺก.
  42. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  43. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  44. นิคล : ป. เครื่องผูกตีนช้าง, โซ่ใส่ตีนช้าง, ปลอกตีนช้าง
  45. นิคล นิคฬ : (ปุ. นปุ.) เครื่องผูกเท้าช้างวิ.นิคลติพนฺธติอเนนาตินิคโลนิคโฬวา.นิปุพฺโพ,คลฺเสจเน,อ.
  46. นิจฺโจล : ค. ปราศจากเครื่องนุ่งห่ม, ผู้ไม่มีเสื้อผ้า, ผู้เปลือยกาย
  47. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  48. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  49. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  50. นิปญฺญวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ้งคำไร้ปัญญาโดย ปกติ, ฯลฯ, ผู้กล่าวซึ่งคำเครื่องยังทายก ให้ตกต่ำโดยปกติ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-769

(0.0445 sec)