Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ช่างเครื่อง, เครื่อง, ช่าง , then ครอง, เครื่อง, ชาง, ช่าง, ชางครอง, ช่างเครื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ช่างเครื่อง, 805 found, display 201-250
  1. ตณฺหาคทฺทุล : ป. เครื่องผูกคือตัณหา
  2. ตณฺหาสโยชน : นป. เครื่องผูกมัดคือตัณหา
  3. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  4. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  5. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  6. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  7. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  8. ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
  9. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  10. ตาฏงฺก : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู, ตุ้มหู ใหญ่. ส. ตาฏงฺก.
  11. ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
  12. ตาลวณฺฏ : (นปุ.) พัด ( เครื่องโบก หรือ กระพือลม ), พัดใบตาล. ตาลวณฺเฏหิ กตฺตตา ตาลวณฺฏํ.
  13. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  14. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  15. ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
  16. ตุณฺณวาย : ป. ช่างชุน, ช่างเย็บ
  17. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  18. ตุตฺต : (นปุ.) เครื่องแทงโคนหูช้าง, ปฏัก, ประตัก. หตฺถิโน กณฺณมูลวิชฺฌนกณฺฏโก ตุตฺตํ. ตุทฺ วฺยถเน, โต, ทสฺส โต.
  19. ตุมฺพ : (ปุ.) ตุมพะ ชื่อมาตราตวง ชื่อของ เครื่องตวง ( อาฬหก), ทะนาน, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, จักจั่น ( เต้าน้ำ หรือภาชนะดิน รูปคล้ายน้ำเต้า ใช้ใส่น้ำเดินทาง). ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ.
  20. ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
  21. ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
  22. ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
  23. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  24. ทณฺฑปริสฺสาวน : นป. เครื่องกรองน้ำมีหู, เครื่องกรองน้ำมีที่ถือ
  25. ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
  26. ทนฺตการ : ป. ช่างงา, ช่างแกะสลักงา
  27. ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
  28. ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
  29. ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
  30. ทพฺพา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องจำกัดความชั่ว, ความดี. ทพฺพฺ หึสายํ, อ.
  31. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  32. ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว; ๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
  33. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  34. ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
  35. ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
  36. ทานุปกรณ : นป. อุปกรณ์แห่งทาน, เครื่องถวายทาน
  37. ทารุภณฺฑ : (นปุ.) ภัณฑะอันบุคคลทำแล้ว ด้วยไม้, เครื่องไม้.
  38. ทิฏฺฐสโยชน : (นปุ.) กิเลสขาดเครื่องร้อยรัด คือทิฎฐิ, ความร้อยรัดคือทิฎฐิ, คสามร้อยรัดอันเกิดจากทิฎฐิ.
  39. ทิฏฺฐิสโยชน : นป. ทิฎฐิสังโยชน์, กิเลสเครื่องผูกสัตว์ในภพ คือทิฐิ, ความเห็นผิดซึ่งทำให้สัตว์ติดข้องอยู่ในภพ
  40. ทิพฺพปณฺณาการ : ป. เครื่องบรรณาการอันเป็นทิพย์
  41. ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
  42. ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
  43. ทิพฺพวิหาราทิ : (วิ.) (การอยู่) มีการอยู่ของเทวดาเป็นต้น, (ธรรมเป็นเครื่องอยู่) มี การอยู่อันเป็นทิพย์เป็นต้น.
  44. ทิวิลฺล : นป. เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง
  45. ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
  46. ทุสฺสิก : ป. ช่างตัดเสื้อผ้า, พ่อค้าผ้า
  47. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  48. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  49. โทณ : (ปุ. นปุ.) โทณะชื่อเครื่องตวงอย่างหนึ่งเท่ากับ๔อาฬหกะอาฬหกะ๑เท่ากับ๔ปัตถุ.วิ.ทวติปวตฺตตีติโทณํ.ทุคมเน,โณ.ทุณฺวาคติยํหีสายญฺจ,โณ.
  50. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-805

(0.0658 sec)