Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ช่างเครื่อง, เครื่อง, ช่าง , then ครอง, เครื่อง, ชาง, ช่าง, ชางครอง, ช่างเครื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ช่างเครื่อง, 805 found, display 501-550
  1. สงฺขล : นป. เครื่องผูกตีนช้าง
  2. สณฺฑาส : ป. คีมปากนกแก้ว, แหนบ, หีบใส่เครื่องมือ
  3. สนฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, สายป่าน, เชือก, เชือกผูกวัว. สํปุพฺโพ, ทา พนฺธเน, ยุ.
  4. สนฺนาห : (ปุ.) เครื่องผูกสอด, เกราะ. ณ ปัจ.
  5. สปฺปจฺจย : ค. มีเครื่องอาศัย
  6. สพฺพคนฺถปฺปหีน : (วิ.) ผู้มีกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งปวงอันละได้แล้ว.
  7. สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
  8. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  9. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  10. สมฺปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องยังบุคคลให้ถึงพร้อม, คำเชิญ. ส. สมฺปท.
  11. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  12. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  13. สมฺพาหณ : (นปุ.) การชักไปด้วยดี, การขยำ, ฯลฯ, เครื่องนวด, เครื่องดัด. ยุปัจ.
  14. สมฺโพชฺฌ : (ปุ.) ความรู้พร้อม, ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ ณ ปัจ.
  15. สมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้.
  16. สมฺโพธา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้.
  17. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  18. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  19. สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
  20. สมฺมาวายาม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเพียรชอบ วิ. สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ สมฺมาวายาโม. สมฺมาปุพฺโพ, วายมฺ อีหายํ, โณ. ความเพียรชอบ. วิ. สมฺมา วายาโม สมฺมาวายาโม. วิเสสยบุพ, กัม.
  21. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  22. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  23. สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
  24. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  25. สหายตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ประชุมแห่งสหาย. ตา ปัจ. ภาวตัทและสมุหตัท. ความเป็นสหาย, คุณชาติ เครื่องเป็นสหาย.
  26. สฬายตน : (นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
  27. สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
  28. สาธารณูปโภค : (ปุ.) เครื่องใช้สอยทั่วไป, เครื่องใช้สอยอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป. สาธารณ+ชน+อตฺถ+อุปโภค. ลบ ชน และ อตฺถ. สาธารณูปโภค (การประกอบกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป).
  29. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  30. สาพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกสุนัข. วิ. สานํ สุนขานํ พนฺธนำสาพนิธนํ.
  31. สามิส : ค. ประกอบด้วยเครื่องล่อ
  32. สิขาพนฺธ : (นปุ.) เครื่องผูกมวยผม.
  33. สินาน : (นปุ.) การอาบ, การอาบน้ำ, เครื่องสนาน, เครื่องสำอาง, เครื่องอาบน้ำ. สินา โสจยฺเย, ยุ.
  34. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  35. สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
  36. สิพฺพนี : อิต. หญิงช่างเย็บ; ความอยาก
  37. สิพฺพนี สิพฺพินี : (อิต.) ธรรมชาติอันร้อยรัด, ธรรมชาติอันรัดรึง (ผูกแน่น), ธรรมชาติเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ตัณหาเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ธรรมชาตผูกเย็บ (ผูก) ภพเป็นต้น ไว้ด้วยภพเป็นต้น, ตัณหา. วิ. ภวาทีหิ ภวาทโย สิพฺพตีติ สิพฺพนี สิพฺพินี วา. อี อินี อิต.
  38. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  39. สีลกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาซึ่งศีล, กถาพรรณาศีล, สีลกถา, ศีลกถา.
  40. สีลาวรรณ : (นปุ.) เครื่องกำบังศีรษะ, หมวก.
  41. สีสการ : (ปุ.) ช่างดีบุก, ฯลฯ.
  42. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  43. สุชา : (อิต.) สุชา ชื่อทัพพีสำหรับตักเครื่องสังเวยเพื่อบูชายัญ. วิ. หวฺยนฺนาทีนํ สุขคหณคฺถํ ชายตีติ สุชา.
  44. สุธาการ : (ปุ.) ช่างปูน, ช่างอิฐ. ส. สุธาชีวิน.
  45. สุธาเลปก : (ปุ.) ช่างปูน, ช่างอิฐ.
  46. สุรภิ : (ไตรลิงค์.) ของหอม, เครื่องหอม, สารภี ชื่อต้นไม้ดอกหอมใช้ทำยาไทยอยู่ในกลุ่มเกสรทั้งห้า. วิ. สุฎฺฐุ รภนฺติ ตุสฺสนฺตฺยเน เนติ สุรภิ. รภฺ ตุสฺสเน, อิ. พิมเสน ก็แปล. ส. สุรภิ.
  47. สุวฑฺตกี : (ปุ.) ช่างปืน.
  48. สุวณฺณลงฺการ : (วิ.) ผู้มีเครื่องประดับอันบุคคลทำแล้วด้วยทอง, ผู้มีเครื่องประดับเป็นวิการแห่งทอง. ฉ. พหุพ.
  49. สูจิ : (อิต.) เข็ม, คำชี้แจง, คำประกาศ, เครื่องชี้, รายการ, สารบัญ, ตาล, กลอน, ลิ่ม. วิ. สูเจติ คฒมคฺคนฺติ สูจิ. สูจฺ ปกาสเน, อิ. ส. สูจิ, สูจี.
  50. สูจิก : (ปุ.) ช่างเย็บ. ส. สูจิก.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-805

(0.0699 sec)