Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เตียนโล่ง, เตียน, โล่ง , then ตยนลง, เตียน, เตียนโล่ง, ลง, โล่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เตียนโล่ง, 811 found, display 51-100
  1. ปฏิโจเทติ : ก. โจทตอบ, กล่าวโทษตอบ, ติเตียนตอบ
  2. ปริภาส : ป. การบริภาษ, การว่าร้าย, การติเตียน, ดูหมิ่น
  3. ปริภาสก : ค. ผู้บริภาษ, ผู้ติเตียน, ผู้เย้ยหยัน
  4. ปริภาสิต : กิต. บริภาษแล้ว, ติเตียนแล้ว, ด่าว่าแล้ว
  5. ปรูปวาท : ป. การกล่าวร้ายผู้อื่น, การติเตียนผู้อื่น
  6. ปาปครหี : ค. ผู้ติเตียนบาป, ผู้เห็นบาปเป็นสิ่งน่าติเตียน
  7. ปิฏฺฐิมสิก : ค. ผู้ติเตียนลับหลัง, ผู้นินทา
  8. ปิฏฺฐิมสิกตา : อิต. การติเตียนลับหลัง, การนินทา
  9. โลกวชฺช : นป. สิ่งที่ชาวโลกติเตียน
  10. วิครหติ : ก. ติเตียน
  11. วิวณฺเณติ : ก. ติเตียน, กล่าวโทษ
  12. สมสฺสาส : ป. ความโล่งใจ, ความปลอดโปร่ง, ความสดชื่น
  13. สานุวชฺช : ค. น่าติเตียน, ควรตามไปว่ากล่าว
  14. หึลิต หึฬิต : (วิ.) ละอาย, ติเตียน, นินทา. หีฬฺ นินฺทาลชฺชาสุ, โต, อิ อาคโม.
  15. อกฺโกจฺฉิ : ก. ด่าแล้ว, ติเตียนแล้ว, แช่งแล้ว
  16. อกฺโกสก : ป. ผู้ด่า, ผู้ติเตียน, ผู้แช่ง
  17. อกฺโกสติ : ก. ด่า, ติเตียน, แช่ง
  18. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  19. องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
  20. อชฺโฌกาส : ป. ที่กลางแจ้ง, ที่โล่ง
  21. อตินิคฺคณฺหาติ : ก. ติเตียนยิ่ง, ข่มขี่
  22. อนิคฺคหีต : ค. ไม่ถูกติเตียน
  23. อนินฺทิย : ค. ไม่ควรตำหนิติเตียน
  24. อนุปาต : ป. การโต้เถียง, การติเตียน
  25. อนุลปนา (อนุลฺปนา) : อิต. การกล่าวฟ้องร้อง, การกล่าวโทษ, การติเตียน
  26. อนุวทนา : (อิต.) การกล่าวหา, การกล่าวโทษ, การติเตียน, คำกล่าวหา, ฯลฯ.
  27. อนุวาท : (ปุ.) การกล่าวหา, การกล่าวโทษ, การโจท, การติเตียน.
  28. อปวทติ : ก. ว่ากล่าว, ตักเตือน, ติเตียน, นินทา
  29. อปวาท : (ปุ.) คำกล่าวโทษ, การกล่าวโทษ, การติเตียน, การโจทย์.ส.อปวาท.
  30. อปสาท : ป. การรุกราน, การติเตียน
  31. อปสาเทติ : ค. รุกราน, ลบหลู่, ติเตียน
  32. อภิสปติ : ก. ด่า, สาป, ติเตียน ; สาบาน
  33. อภิสาเรติ : ก. ให้เข้าไปใกล้ ; ตามรังควาน ; ติเตียน
  34. อริยครหี : ค. ผู้ติเตียนพระอริยะ
  35. อวชฺชตา : อิต. ใช้ในคำว่า อนวชฺชตา = ความไม่น่าติเตียน, ความไม่มีโทษ
  36. อวนินฺทติ : ก. ติเตียน, นินทา
  37. อสฺสาเสติ : ก. ให้โล่งใจ, ให้สบายใจ, ปลอบใจ
  38. อสิโลกภย : (นปุ.) ภัยแห่งความติเตียน.
  39. อโห : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อนิจจา, พุทโธ่, ดังเราชม, ดังเราติเตียน, น่าอัศจรรย์หนอ.
  40. อุชฺฌน อุชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, การ ยกโทษ, การติเตียน, การโพทนา, ความเพ่ง โทษ, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  41. อุชฺฌาเปติ : ก. ให้เพ่งโทษ, ให้ติเตียน, ให้โพนทะนา
  42. อุปกฺกฏฐ : กิต. กล่าวโทษแล้ว, ติเตียนแล้ว
  43. อุปกฺโกสติ : ก. ด่าว่า, ติเตียน, กล่าวโทษ
  44. อุปนนฺธติ : ก. ติเตียน, ว่าร้าย, บ่น, ผูกมั่น, ผูกแน่น, ผูกโกรธ
  45. อุปวทติ : ก. เข้าไปว่าร้าย, ใส่โทษ, ติเตียน
  46. อุปวาทก : ค. ผู้ว่าร้าย, ติเตียน
  47. อุปารทฺธ : กิต. ติเตียนแล้ว, โต้เถียงแล้ว, คัดค้านแล้ว
  48. อุรุนฺทา : อิต. ความโล่งอก, การหายใจสะดวก
  49. โอปารมฺภ : ค. ซึ่งช่วยเหลือ, ซึ่งเจือจาน, อุปถัมภ์, น่าตำหนิ, น่าติเตียน
  50. โอมสติ : ก. ถูกต้อง, ลูบคลำ; ติเตียน
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-811

(0.0371 sec)