Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 201-250
  1. เขตฺตูปม : ค. ซึ่งอุปมาด้วยนาหรือสวน, เปรียบกับนาหรือสวน
  2. เขเปติ : ก. ปล่อยให้สิ้นไป (เวลาหรือสมบัติ), ให้เวลาล่วงเลยไป
  3. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  4. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  5. คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
  6. คตฏฐาน : นป. ที่หรือฐานะซึ่งไปแล้วหรือถึงแล้ว
  7. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  8. คนฺธาสา : อิต. ความหวังหรืออยากในกลิ่น
  9. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  10. คมนนฺตราย : ป. อันตรายในการไปหรือการเดินทาง
  11. ครุธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่ควรเคารพ, ครุธรรม ธรรมหรือสิกขาบท ที่ล่วงละเมิดมิได้.
  12. คหกูฏ : (นปุ.) เรือนยอด. คห+กูฏ บางมติใช้ เคห แปลง เค เป็น ค หรือแปลง เอ เป็น อ.
  13. คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
  14. คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
  15. คิหิกิจฺจ : นป. กิจหรือหน้าที่ของคฤหัสถ์
  16. คิหิสสคฺค : ป. การเกี่ยวข้องสมาคมหรือคลุกคลีกับคฤหัสถ์
  17. คุณนาม : (ปุ.) ชื่ออันแสดงความดี, คุณนาม คือนามที่แสดงลักษณะของนามนามให้ รู้ว่าดีหรือชั่วเป็นต้น.
  18. คุตฺติ : (อิต.) การคุ้มครอง, การปกครอง, การเลี้ยงดู, การรักษา, ความคุ้มครอง, ฯลฯ. วิ. โคปยเตติ คุตฺติ. คุปฺ โคปเน, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ปฺ หรือไม่แปลง ติ แปลง มฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  19. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  20. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  21. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  22. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  23. โคปานสีวงฺก : ค. คดหรืองอเหมือนไม้กลอนหรือจันทัน
  24. โคปิต : กิต. อันเขาคุ้มครองหรือรักษาแล้ว
  25. โคปี : อิต. หญิงเลี้ยงโคหรือภรรยาของนายโคบาล
  26. โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
  27. ฆตสิตฺต : ค. อันรดแล้วด้วยเนยใสหรือเปรียง
  28. ฆมฺม : (วิ.) ร้อน, อบอุ่น. ฆรฺ เสจเน, รมฺโม. ลบ รฺ และลบตัวเองคือ ร หรือลง ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ
  29. ฆรสนฺธิ : อิต. ที่ต่อหรือรอยแยกแห่งเรือน
  30. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  31. จกฺกปาณิ : (ปุ.) พระจักกปาณิ (ผู้มีจักรใน พระหัตถ์) ชื่อพระนารายณ์ ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่ออีก๕ ชื่อถือ วาสุเทว หริ กณฺห เกสว. พระนารายณ์หรือพระวิษณุ เป็นชื่อของพระเจ้า องค์เดียวกัน เป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู.
  32. จตุตฺถมน : นป. ใจที่ ๔ คือชิวหาหรือลิ้น
  33. จปุจปุการก : อ. ทำเสียงดังจุ๊บๆ จั๊บๆ (ขณะกินหรือดื่ม)
  34. จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
  35. จมฺมาวุต : (ปุ.) รถที่หุ้มด้วยหนังสัตว์, รถที่หุ้ม ด้วยหนังเสือโคร่งหรือเสือลาย วิ. จมฺเมหิ อาวุโต ปริกขิตฺโต จมฺมาวุโต.
  36. จมุรุ : ป. สัตว์จำพวกกวางหรือชะมดชนิดหนึ่ง ซึ่งหนังของมันถูกนำมาใช้เป็นประโยชน์
  37. จรหิ : อ. ก็, แลหรือ, เล่า, อะไรเล่า
  38. จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  39. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  40. จาป : (ปุ.) หน้าไม้, ศร, ธนู, แล่ง, แล่งธนู. แล่ง คือที่เป็นที่เก็บลูกธนูหรือรังกระสุน หรือที่เก็บลูกกระสุนดินดำ. จปฺ หนเน สนฺตาเป จ, โณ.
  41. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
  42. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  43. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  44. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  45. จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
  46. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  47. เจตก : (ปุ.) สัตว์อันเขาส่งไป. สัตว์สำหรับต่อ ( สัตว์พวกเดียวกัน), สัตว์ต่อ, จิฎฺ เจฏฺ วา เปสเน, จิต เปสนีเย วา, โณ, สตฺเถ โก. หรือลง ณฺวุ ปัจ. ถ้าลง ณฺวุ ก็ไม่ต้องลง ก สกัด.
  48. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  49. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  50. ฉนฺทช : ค. เกิดความพอใจ, เกิดความรักใคร่หรือปรารถนา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0416 sec)