Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 251-300
  1. ฉนฺทนานตฺต : นป. ความแตกต่างกันแห่งความพอใจหรือปรารถนา
  2. ฉนฺทปหาน : นป. การละความพอใจหรือปรารถนาผิด
  3. ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
  4. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  5. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  6. ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก
  7. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  8. ฉายาโจรกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นเค้าของ โจร, ฉายาโจรกรรมคือกิริยาที่ทำทรัพย์ ของผู้อื่นให้เสียหายและเป็นสินใช้ตกอยู่ แก่ตน มี ๒ อย่างคือ ผลาญ ทำลายล้างหรือ ทำอันตรายทรัพย์สมบัติของเขา ๑ หยิบฉวย ๑.
  9. ฉายามาน : นป. การนับหรือการวัดเงา, การนับเวลา
  10. ฉิทฺทตา : อิต. ความเป็นคือรอยแตกหรือช่อง, รอยแตก, ช่อง, รู
  11. ฉินฺนปิโลติก : ค. ผู้มีผ้าขาดหรือไม่มีผ้า
  12. ฉินฺนสาฏก : ป., ค. ผ้าหรือเครื่องประดับขาดแล้ว; ผู้มีผ้าหรือเครื่องประดับขาด
  13. เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
  14. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  15. ชนปทตฺถาวริย : นป. ความถาวรหรือมั่นคงแห่งชนบท
  16. ชนปาโมกฺข : ค. ผู้เป็นประธานหรือหัวหน้าของกลุ่มชน
  17. ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
  18. ชมฺภีร : ๑. ป. ต้นส้มหรือมะนาว; ๒. นป. ผลส้ม
  19. ชราชชฺชร, - ชิณฺณ : ค. ซึ่งแก่หรือคร่ำคร่าเพราะชรา
  20. ชราธมฺม : ค. มีความแก่หรือคร่ำคร่าเป็นธรรมดา
  21. ชราปตฺต : ค. ซึ่งถึงความคร่ำคร่าหรือชรา, ชรา, แก่
  22. ชราภย : นป. ความกลัวแต่ความชราหรือความเสื่อมโทรม
  23. ชลช : (วิ.) เกิดในน้ำ วิ . ชเล ชาโต ชลโช. กฺวิปัจ. หรือว่าเป็น ส.ตัป. ก็ได้ รูปฯ ๕๗๐ ส. ชลช.
  24. ชโลทร : (นปุ.) ท้องน้ำ (พื้นที่หรือบริเวณอัน กว้างใหญ่ของน้ำ), ห้วงน้ำ, แม่น้ำ, ทะเล.
  25. ชวสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยเชาวน์หรือความว่องไว, ผู้มีความกระตือรือร้น
  26. ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
  27. ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
  28. ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
  29. ชินภูมิ : อิต. ภูมิหรือพื้นที่ของผู้ชนะ
  30. ชินสาสน : นป. ศาสนาหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
  31. ชิร ชีร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, แก่คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, ยุ่ย, ย่อย. ชรฺ ธาตุ อ ปัจ.แปลง อ ที่ ช เป็น อี ศัพท์ต้นรัสสะ หรือตั้ง ชีรฺ พฺรูหเณ, อ.
  32. เชฏฺฐา : (อิต.) เชฏฐา ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๑๘ มี ๑๔ ดวง หรือดาวงาช้าง หรือดาวคอนาค.
  33. โชติปรายน : ค. มีความสว่างหรือรุ่งเรืองเป็นเบื้องหน้า, มีอนาคตแจ่มใส, มีอนาคตรุ่งโรจน์
  34. โชติปาสาณ : ป. หินที่ทำให้เกิดความร้อนหรือแสงสว่าง
  35. ฌสา : (อิต.) แตงหนู (แตงลูกเล็กๆ ขึ้นตาม ชายทุ่ง), มะกอก ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีหลาย ชนิด, ครอบโถหรือโลหะสัมฤทธิ์มีฝา ครอบสำหรับใช้ทำน้ำมนต์. ฌสฺ หึสายํ, อ.
  36. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  37. ญาณินฺทฺริย : นป. ญาณินทรีย์, พลังแห่งญาณ, ความสามารถหรือยิ่งใหญ่แห่งญาณ
  38. ฐาปก : ค. ผู้ตั้งใจ, ผู้วางไว้, ผู้เก็บไว้หรือผู้รักษา
  39. ฐิตตฺต : ๑. นป. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น, ๒. ผู้มีตนอันตั้งมั่นแล้ว, ผู้บังคับหรือควบคุมตนได้
  40. ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
  41. ตกฺกวฑฺฒน : นป. การยังความดำริให้เจริญหรือมากขึ้น
  42. ตจปริโยนทฺธ : ค. ซึ่งหุ้มห่อด้วยหนังหรือเปลือกไม้
  43. ตชฺชนิย : ค. อันเขาพึงติเตียน, ซึ่งควรติเตียนหรือลงโทษ, อันควรข่มขู่
  44. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  45. ตณฺหากาย : ป. หมวดหรือหมู่แห่งตัณหา
  46. ตณฺหานิฆาตน : นป. การฆ่าหรือทำลายตัณหา
  47. ตณฺหาปกฺข : ป. พวกหรือฝ่ายแห่งตัณหา
  48. ตณฺหาลุก : ค. ผู้โลภหรืออยากได้ด้วยตัณหา
  49. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  50. ตมฺพนข, - ขี : ค. ผู้มีเล็บสีแดงหรือสีน้ำตาล
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0730 sec)