Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 301-350
  1. ตรจฺฉ : (ปุ.) เสือดาว, หมาป่า, หมาไน. ตรฺ ตรเณ, โฉ. แปลง ฉ เป็น จฺฉ หรือไม่แปลง ซ้อน จฺ ก็ได้.
  2. ตริตตฺต : นป. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ข้ามหรือผ่านแล้ว, การข้ามพ้นแล้ว
  3. ตรุณี : (อิต.) หญิงรุ่น,หญิงสาว. ตรฺ ตรเณ, อุโณ, อิตฺถิยํ อี หรือลง ยุ ปัจ.แปลงเป็น อณ เป็น ตรณ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ แล้วลง อี อิต.
  4. ตาทิลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งความคงที่หรือเป็นเช่นนั้น
  5. ตาปสี, ตาปสินี : อิต. ดาบสหรือนักพรตหญิง, ตาปสินี
  6. ตาลี ตาฬี : (อิต.) ต้นลาน. วิ. สณฺฐานโต ตาลสทิสตฺตา ตาลี ตาฬี อา อี ปัจ. ลงใน อรรถอุปมา หรือตั้ง ตฬฺ อาฆาเต, โณ, อตฺถิยํ อี. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  7. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  8. ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  9. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  10. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  11. ติลกาฬก : (ปุ.) กระ, ไฝ ( เม็ดที่มีสีดำหรือ แดง ขึ้นอยู่ตามตัว), ขี้แมลงวัน ( จุดดำ เล็กๆขึ้นตามตัว). วิ. ติลานิ อิว กาฬโก ติลกาฬโก.
  12. ติลปิญฺญาก : ป. ขนมงา, ขนมทำด้วยเมล็ดหรือน้ำมันงา
  13. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  14. ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
  15. ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
  16. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  17. ตุจฺฉา : (อิต.) ความเปล่า, ฯลฯ, ตุทนํ ตุจฺฉา. ตุทฺ พฺยถเน, โฉ, ทสฺส โจ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘.
  18. ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
  19. ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
  20. ตุมฺพ : (ปุ.) ตุมพะ ชื่อมาตราตวง ชื่อของ เครื่องตวง ( อาฬหก), ทะนาน, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, จักจั่น ( เต้าน้ำ หรือภาชนะดิน รูปคล้ายน้ำเต้า ใช้ใส่น้ำเดินทาง). ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ.
  21. ตูลปุณฺณิก : ค. (รองเท้าหรือที่นอน) ที่ยัดด้วยนุ่นหรือสำลี
  22. ตูลิ, ตูลิกา : อิต. ฟูกยัดนุ่น; พู่กันหรือแปรงทาสี
  23. เตทณฺฑิก : ค. ผู้นำหรือถือไม้สามขา
  24. เตโรวสฺสิก : ค. มีอายุสามหรือสี่ปี
  25. เตลโหม : นป. การทำพลีกรรมด้วยน้ำมัน (คือการเอาน้ำมันราดไฟหรือจุดไฟบูชายัญ)
  26. โตสนา : อิต., โตสาปน นป. การทำให้ร่าเริงหรือให้ความยินดี
  27. ถูลกจฺฉา : อิต. โรคฝีดาษหรืออีสุกอีใส
  28. เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
  29. เถรวาท : (ปุ.) เถรวาทชื่อนิกายของพระพุทธ- ศาสนาฝ่ายใต้ซึ่งถือพระธรรมวินัยตามมติ ของพระเถรพุทธสาวกที่ได้ทำสังคายนาไว้ คือไม่ยอมเปลี่ยนหรือถอนพระวินัย แม้ แต่ข้อเล็กน้อย.
  30. ทกฺขิณนิกาย : (ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
  31. ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
  32. ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
  33. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  34. ทท : (ปุ.) การให้, บุคคลผู้ให้. ทา ทาเน, อ. เท๎วภาวะ ทา รัสสะ อา ทั้งสอง หรือตั้ง ทท.
  35. ททฺทภ, - ธภ : ป., นป. เสียงดังทัททะภะ, เสียงดังสนั่น, เสียงดังกึกก้อง, เสียงของหนักหล่นหรือล้ม
  36. ทนฺตก : นป. เข็มกลัดที่ทำด้วยฟันสัตว์หรืองาช้าง
  37. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  38. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  39. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  40. ทมถ : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  41. ทมน : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  42. ทมฺม. : (วิ.) อัน...ย่อยยมทรมานได้, ฯลฯ. วิ. ทมฺเมเตติ ทมฺโม. อัน...ทรมานได้, ฯลฯ.วิ. ทมิตพฺโพติ. ทมฺโม. ผู้ควรแก่การทรมาน, ฯลฯ. วิ. ทมนารโห ทมฺโม. ทมฺ ทมเน, โณฺย. แปลง ณฺย กับที่สุดธาตุเป็น มฺม หรือแปลง มฺย เป็น มฺม รูปฯ ๕๓๙.
  43. ทฺวตฺติกฺขตฺตุ : อ. สองสามครั้ง, สองครั้งหรือสามครั้ง
  44. ทฺวติปตฺต : (ปุ.) บาตรสองหรือบาตรสาม, สองบาตรหรือสามบาตร, สองสามบาตร, วิ. ทฺวิปตฺตา วา ติปตฺตา วา ทฺวติปตฺตา.
  45. ทฺวีหตีห : (นปุ.) วันสองและวันสาม, สองวันและสามวัน, วันสองหรือวันสาม, สองวันหรือสามวัน, สองสามวัน.
  46. ทห : (ปุ.) สระ (ที่ขังน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป้นเอง หรือคนขุด), บึง. วิ. อุทกํ ทธาตีติ ทโห. ทหฺ ธารเณ, อ. ทธฺ รเณวา, อ, ธสฺสโห.
  47. ทฬฺหปหาร : ป. การประหารอย่างแรง, การทุบหรือตีอย่างแรง
  48. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  49. ทาร : (ปุ.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. วิ. ทารยนฺเต อเนนาติ ทาโร (ทำลาย หรือแบ่งความทุกข์ของสามี). ทรฺ วิทารเณ, โณ. อภิฯ. รูปฯ ๕๖๓ วิ. ทรียติ อเนนาติทาโร ส.ทาร.
  50. ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0597 sec)