Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 401-450
  1. นานาติตฺถิย : ค. มีนานาลัทธิ, มีหลายลัทธิหรือศาสนา
  2. นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
  3. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  4. นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
  5. นาราจวลย : ป., นป. กำไลหรือปลอกคอทำด้วยเหล็ก
  6. นาลิ : อิต. ทะนาน, มาตราตวง, ปัตถะ ๑ หรือแล่ง ๑, ก้าน
  7. นิเกตวาสี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในบ้านหรือในสำนัก
  8. นิคฺคยฺห : ค. อัน...พึงตำหนิ, พึงข่ม, ซึ่งควรแก่การติเตียนหรือข่ม
  9. นิคฺคเหตพฺพ : ค. ซึ่งควรแก่การติเตียนหรือข่ม, อัน...พึงติเตียนหรือข่ม
  10. นิโคฺรธปริมณฺฑล : ๑. นป. ปริมณฑลหรือบริเวณของต้นไทร; ๒. ค. มีปริมณฑลเหมือนปริมณฑลแห่งต้นไทร
  11. นิจฺจสญฺญี : ค. มีความสำคัญหมายว่าเที่ยงหรือแน่นอน
  12. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  13. นิปฺปปญฺจ : ค. ซึ่งไม่มีความยุ่งยากหรือความเนิ่นช้า, ซึ่งปราศจากกิเลสเครื่องเนิ่นช้า
  14. นิปฺปิปาส : ค. ซึ่งไม่มีความกระหายหรือความอยากได้
  15. นิปฺผาณิตตฺต : นป. ความเป็นผู้หรือสิ่งที่ปราศจากน้ำตาลหรือน้ำอ้อย
  16. นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
  17. นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
  18. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  19. นิรคฺคล : ค. ซึ่งไม่ขัดขวาง, ซึ่งไม่เบียดเบียน, อันปราศจากลิ่มหรือกลอน
  20. นิราสส : ค. ปราศจากความปรารถนาหรือความหวัง
  21. นิรุปธิ : ค. ปราศจากอุปธิ, ไม่มีกิเลสหรือความใคร่, หมดความอยาก
  22. นิลฺเลข : ค. ซึ่งไม่มีรอยขีดเขียนหรือริ้วรอย, ซึ่งปราศจากขอบหรือริม
  23. นิวาปปุฏฐ : ค. อัน...เลี้ยงดูด้วยผักหรือหญ้า
  24. นิวาริย : ค. ซึ่งควรแก่การห้ามหรือขัดขวาง
  25. นิวิชฺฌ : ค.อันเขาเจาะหรือแทง; ยากที่จะแทงตลอด
  26. นิวิฏฺฐ : ค. ตั้งมั่นแล้ว, มั่นคงแล้ว, อุทิศหรือสละแล้ว
  27. นีลกสิณ : นป. นีลกสิณ, วัตถุสีน้ำเงินหรือเขียวซึ่งใช้เพ่งเมื่อทำสมาธิ
  28. ปฏินิสฺสคฺคี : ค. ซึ่งสละคืน, ซึ่งสลัดทิ้ง, ซึ่งละเลิก; ซึ่งสละได้ (ยากหรือง่าย)
  29. ปฏิพาหิย : ค. ซึ่งจะต้องขัดขวางหรือป้องกัน
  30. ปฏิภณฺฑ : นป. ของหรือสินค้าแลกเปลี่ยน
  31. ปฏิวิโนทย : ค. ในคำว่า ‘ทุปฺปฏิวิโนทย’ = ซึ่งบรรเทา หรือกำจัดได้โดยยาก
  32. ปฏิสเวที : ค. ผู้ทราบชัด, ผู้รู้สึก, ผู้เสวย (เวทนา), ผู้ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  33. ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  34. ปณฺฑุโรคี : ป. คนเป็นโรคผอมเหลืองหรือโรคดีซ่าน
  35. ปณฺณรสี : อิต. ดิถีที่สิบห้า, ขึ้นหรือแรม ๑๕ ค่ำ
  36. ปณิทหติ : ก. ตั้ง (จิตหรือกาย), ดำรง, มุ่งมั่นปรารถนา, มุ่งหวัง
  37. ปเณติ : ก. ลง (ทัณฑ์หรืออาชญา)
  38. ปตฺตก : นป. ภาชนะหรือบาตรเล็ก
  39. ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
  40. ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
  41. ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
  42. ปทภาณก : ค. ผู้กล่าวหรือสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  43. ปทาลตา : อิต. เครือดิน, ไม้เถามีลักษณะคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย
  44. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  45. ปเทสราช : ป. พระราชาในประเทศ, พระเจ้าแผ่นดินผู้ครองเฉพาะหรือดินแดนบางส่วน
  46. ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
  47. ปปุตฺต : (ปุ.) หลาน ( ลูกของลูกชายหรือลูก ของลูกสาว ) , หลานชาย. วิ. ปุตฺตสฺส ปุตฺโต ปปุตฺโต. ลบ ตฺต ของศัพท์หน้า และแปลง อุ เป็น อ.
  48. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  49. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  50. ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0771 sec)