Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 51-100
  1. ทุวจ : (วิ.) ผู้อัน...ว่าได้โดยยาก (ว่ายากสอน ยาก). ทุกฺข+วจฺ ธาตุ อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ข ปัจ. ลบ กฺข. ผู้มีวาจาอันโทษประทุษร้ายแล้ว ทุฏฺฐ+วจ. ผู้มีถ้อยคำชั่ว ผู้มีถ้อยคำหยาบ ทุ + วจ หรือ ทุฏฺฐ+วจ.
  2. ทุสฺส : (นปุ.) ผ้า ( สิ่งที่ทำด้วยเยื่อไม้ ท.) วิ. ทุรูปํ อสตีติ ทุสฺสํ ทุรูปปุพฺโพ. อสฺ เขปเน, โส. ทุรูปํ อสตีติ วา ทุสฺสํ. อสฺ ทิตฺติยํ, โส. หรือ ลง อ ปัจ. ซ้อน สฺ หรือ ทุ คมเน. ส ปัจ. แปลงเป็น สฺส. อภิฯ และฎีกา.
  3. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  4. ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
  5. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  6. ธรณี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก. วิ. สพฺพโลกํ ธรตีติ ธรณี ธรฺ ธารเณ, อณี. ไม่ลบ ณฺ หรือ ยุ ปัจ. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓ ลง อิ ปัจ. เป็น ธรณิ ธรณ+อิปัจ. ส. ธรณิ, ธรณี.
  7. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  8. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  9. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  10. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  11. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  12. นินฺนหุตฺต : นป. มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐๕ หรือ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๓๕ ตัว
  13. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  14. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  15. ปตฺถ : (ปุ.) ปัตถะ ชื่อมาตราตวง ๔ กุฑุวะ หรือ ๔ ปสตะ เป็น ๑ ปัตถะ, แล่ง, กอบคือ ๒ ฟายมือ, ทะนาน.
  16. ปย : (ปุ.) นม (นมสด), น้ำ, น้ำนม, วิ. ปาตพฺพนฺติ ปโย. ปา ปาเน, โณ. แปลง อา เป็น อิ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย หรือ ตั้ง ปยฺ คติยํ, อ.
  17. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  18. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  19. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  20. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  21. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  22. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  23. พฺยาม : (ปุ.) วา (๔ ศอก หรือ ๒ เมตร) วิ. วฺยามียเต อเนเนติ วฺยาโม พฺยาโม วา. วิปุพฺโพ, ยามฺ อญฺเช, อ.
  24. พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
  25. พิลาล : (ปุ.) แมว วิ. มูสิกาทิปาทเนน พลตีติ พิลาโล. พลฺ ปาณเน, อโร. แปลง ร เป็น ล หรือ ตั้ง พิลฺ เภทเน. ก็ได้.
  26. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  27. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  28. ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
  29. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  30. ภมุกา : (อิต.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  31. ภมุ ภมุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  32. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  33. ภิสน : (วิ.) น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง, น่าสพึงกลัว. ภี ภเย, ยุ. รัสสะ อี เป็น อิ นิคคหิตอาคม. และ สฺ อาคม หรือ ลง รึสน ปัจ. หรือ ภิสิ ภเย.
  34. ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
  35. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  36. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  37. มมฺม : (วิ.) เป็นเหตุตาย, เป็นเครื่องตาย. วิ. มรนฺตฺยเนนาติ มมิมํ. มรฺ ธาตุ ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ หรือ รมฺม ปัจ. ลบ รฺ และ ร.
  38. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  39. มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
  40. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  41. มุธา : (อัพ. นิบาต) ว่าง, เปล่า.
  42. เมชฺฌ : (วิ.) หมดจด, มงคล, ดี. เมธฺ หึสาสํคเมสุ, โณฺย. แปลง ธฺย เป็น ฌ แปลง ฌ เป็น ชฺฌ หรือ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ. ฎีกาอภิฯ.
  43. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  44. ยคฺเฆ : (อัพ. นิบาต) เป็นคำอาลปนะของคนที่ต่ำพูดกับคนที่สูงกว่า แปลว่า ขอเดชะ หรือ สรวมชีพ. และแปลว่า ได้ยินว่า, แล.
  45. ยาจก ยาจนก : (ปุ.) คนขอทาน วิ. ยาจตีติ ยาจโก. ณฺวุปัจ. ยาจนํ กโรตีติ ยาจนโก. กฺวิปัจ. ลบที่ธาตุ หรือ ยาจฺ ธาตุ ยุ ปัจ. ก สกัด อภิฯ.
  46. สย : (อัพ. นิบาต) เอง, ด้วยตนเอง, โดยตนเอง, อันตนเอง. ใช้เป็นประธานก็มี แปลว่า อ. ตนเอง ที่เป็นราชาศัพท์ แปลว่า อ. พระองค์ หรือ อ. พระองค์เอง.
  47. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  48. สิขณฺฑก : (ปุ.) ผมแหยม, แกละ, ผมแกละ ชื่อผมที่เกล้าไว้เป็นหย่อม ๆ เป็นผมเด็ก. แยกเป็น ๕ หรือ ๓ หย่อม.
  49. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  50. สุกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยง่าย, อัน...ทำได้ง่าย. วิ. สุเขน กริยตีติ สุกรํ. ข ปัจ. ลบ ข ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เหมือนบทที่ประกอบด้วยอนีย์ ตพฺพ หรือ ต ปัจ. ได้. ผู้มีมืองาม. วิ. สุนฺทโร กโร ยสฺส โส สุกโร.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0727 sec)