Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 551-600
  1. โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
  2. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  3. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  4. รถคุตฺติ : อิต. ไม้ค้ำรถ, ไม้ห้ามหรือกั้นรถ
  5. ริตฺตมุฏฺฐิ : ป. กำมือเปล่า
  6. ริตฺตหตฺถ : ค. ซึ่งมีมือเปล่า
  7. รูปตณฺหา : อิต. ความอยากหรือความใคร่ในรูป
  8. ลมฺพก : นป. ของที่ห้อยหรือแขวน
  9. โลณิก : ค. เกี่ยวกับเกลือหรือด่าง
  10. วคฺคุลิ : อิต. ไม้แบบใช้สำหรับตีปิงปองหรือลูกคริกเก็ต
  11. วา : อ. หรือ; หรือว่า
  12. วาคุริก : ค. ผู้ใช้ข่ายหรือบ่วงดักสัตว์
  13. วาลวีชนี : อิต. พัดหรือแส้ทำด้วยขนสัตว์
  14. วาสนา : อิต.วาสนา, บุญหรือบาปที่ได้อบรมมา
  15. วิรห : ป. ความว่างเปล่า
  16. เวชยนฺต : ป. ชื่อวิมานหรือรถของพระอินทร์
  17. เวสฺสวณ : ป. ท้าวเวสสุวัณหรือท้าวกุเวร
  18. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  19. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  20. สวณีย สวนีย : (วิ.) อัน...พึงฟัง. สุ สวเน, อนิโย. ศัพท์ต้น แปลง นฺ เป็น ณฺ คำ เสานีย์ แผลงมาจาก สวนีย์ และใช้เป็นนามในความว่า คำหรือคำสั่งของนางพระยา หรือคำสั่งของท้าวพระยา.
  21. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  22. สหชาติ : (วิ.) ผู้เกิดร่วมกัน สหชาต (เกิดปีเดียวกัน เกิดปีร่วมกัน หรือเกิดร่วมวันเดือนปีเดียวกัน).
  23. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  24. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  25. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  26. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  27. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  28. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  29. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  30. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  31. สิมฺพลี : (ปุ. อิต.) ไม้งิ้ว, ไม้งิ้วบ้าน. อลี ปัจ. ส่วนมากใช้อิต. เรียกว่าที่อยู่ของพญาครุฑว่าวิมานสิมพลี หรือวิมานฉิมพลี.
  32. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  33. สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
  34. สุขาภิบาล : (ปุ.) การรักษาซึ่งความสุข, การระวังรักษาให้เกิดความสุข, สุขาภิบาล ชื่อส่วนหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค.
  35. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  36. สุงฺกฆาต : (ปุ.) สุงกฆาตะ ชื่ออวหาร (การลัก) ชนิดหนึ่ง คือการลักนำของผ่านด่านภาษี หรือของมากซ่อนเสียให้เห็นแต่น้อย.
  37. สุญฺญตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็นของว่างเปล่า, ความที่แห่งของเป็นของว่างเปล่า, ฯลฯ, ความเป็นของว่างเปล่า. ตา ปัจ. ภาวตัท. ความว่าง, ความว่างเปล่า, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  38. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  39. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  40. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  41. สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
  42. สุวณฺณปฎ : (ปุ. นปุ.) แผ่นสำเร็จแล้วด้วยทอง, แผ่นแห่งทอง, แผ่นทอง, สุพรรณบัฎ. สุพรรณบัฎ ไทยใช้เรียกแผ่นทองคำที่จารึกราชทินนามชั้นสูงหรือจารึกพระราชสาสน์. ส. สุวรฺณปฎ.
  43. สุสาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนแห่งศพ, ป่าช้า. วิ. ฉวสฺส สยนฎฺฐานํ สุสานํ. ฉวสฺส สุ, สยนสฺส สาโน. หรือลบ ย แปลง อ ที่ ส เป็น อา.
  44. เสมฺห : (ปุ. นปุ.) ไศลษม์ เสลด เสมหะ ชื่อเมือกที่ออกจากลำคอหรือลำไส้ วิ. สิลิสฺสเต อเ ตฺรติ เสมฺห. สิลิสฺ สิเลสเน, โม, ลิสสฺส โห, วณฺณปริยาโย จ. ส. ศฺลษฺมก. เศลษฺมนฺ.
  45. เสรี : (ปุ.) บุคคลผู้มีอิสระ (ทำหรือพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น). วิ. อตฺตนา อีริตํ สีล มสฺสาติ เสรี.
  46. หสปาท : (วิ.) มีสีคล้ายเท้าหงส์ คือแดงปนเหลือง แดงเรื่อ หรือสีแดง ก็ว่า.
  47. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  48. เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
  49. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  50. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0523 sec)