Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 651-700
  1. อภิสมฺพุชฺฌน : นป. การตรัสรู้, การเข้าถึงหรือบรรลุ
  2. อภิหริยติ : ก. อันเขานำมาหรือนำไป
  3. อภิหาเรติ : ก. ให้นำมาหรือนำไป
  4. อมตฺเตยฺยตา, อเมตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
  5. อมตฺเตยฺย, อเมตฺเตยฺย : ค. ผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
  6. อมฺพุชกร : ป. สระน้ำ, บ่อหรือทะเลสาป
  7. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  8. อมุตฺต : (นปุ.) อมุตตะชื่อของมีดหรือกริชเป็นต้น.วิ. ฉุริกาอสิปุตฺติคทาทิกํอมุตฺตํ.นมุตฺตํอมุตฺตํ.
  9. อโมฆ : (วิ.) ไม่เปล่า, ไม่เปล่าจากประโยชน์, ไม่ไร้ประโยชน์.
  10. อยกปาล : ป. ฝาครอบหรือกระทะเหล็ก
  11. อโยปฏล : นป. หลังคาหรือเพดานทำเป็นแผ่นเหล็ก (ในนรก)
  12. อร : (ปุ. นปุ.) ดอกบัว, ซี่, ซี่จักร, กำ (ซี่ของล้อรถหรือเกวียน), ส่วนเวลา, เครื่องเล่น.อรฺคติยํ, อ.ส.อร.
  13. อรญฺญวิหาร : ป. วิหารหรือกระท่อมที่อยู่ในป่า
  14. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  15. อลงฺกมฺมนิย : ค. ซึ่งสมควรหรือสามารถพอที่จะทำกรรมได้
  16. อลตฺตกกต : ค. ย้อมด้วยครั่งหรือสีแดงสด
  17. อวนิ : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺเตอวตีติอวนิ.อวฺรกฺขเณ, ยุ, นสฺสนิตฺตํ (แปลงนเป็นนิ), นสฺสวาอสฺสอิตฺตํ (หรือแปลงอแห่งนเป็นอิ). หรือลงอนิปัจ.รูปฯลงอิปัจ.นฺอาคม.เป็นอวนีบ้างส.อวนิอวนี.
  18. อวฺยากต : ค. ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์โดยประการอื่น คือ ไม่ทรงชี้ชัดลงไปว่าดีหรือชั่ว ; ที่เป็นกลางๆ
  19. อวหาร : (ปุ.) การนำลง, การฉวยเอา, การชิงเอาการลัก, การขโมย, ความนำลง.อวหรือโอบทหน้าหรฺธาตุในความถือเอาณปัจ.ส.อวหาร.
  20. อวิภตฺต : ค. อันไม่แจกหรือจำแนก
  21. อวิสาหฏ : ค. ไม่ถูกรบกวน, ไม่ถูกทำให้เขวหรือฟุ้งซ่าน
  22. อเวกฺขิปติ : ก. ทิ้งหรือหย่อนเท้าลง, กระโดด
  23. อสมฺปายนฺต : อิต. ไม่อาจแก้หรืออธิบายได้, ไม่อาจตอบปัญหาได้
  24. อสฺสฏฺฐอสฺสตฺถ : (ปุ.) ไม้โพธิ์, ต้นโพธิ์.วิ.อสฺสํสพฺพญฺญุตญาณํติฏฺฐติเอตฺถาติ อสฺสตฺโถ.อภิฯ อสฺส+ฐิตแปลงฐิตเป็นตฺถฏีกาอภิฯอสฺส+ฐซึ่งสำเร็จรูปมาจากฐาธาตุอปัจ.แปลงฐ เป็น ถแล้วแปลงถเป็นตฺถศัพท์ต้นแปลงตฺถ เป็นฏฺฐ.ถ้าตั้งฐา, ถาธาตุก็แปลงฐเป็นฏฺฐ, ถเป็นตฺถหรือตั้งอาปุพฺโพ, สาสฺอนุสิฏฺฐิ-โตสเนสุ.ลงอปัจ. ประจำหมวดธาตุและตปัจ.แปลงตเป็นฏฺฐ, ตฺถรัสสะอาทั้งสองเป็นอ.
  25. อสฺสว : (วิ.) ผู้ว่าง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้เชื่อฟัง, วิ.อาเทสิตํอาทเรเนวสุณาตีติอสฺสโว.อาบทหน้าสุธาตุอ หรือณปัจ. พฤทธิอุ เป็น โอ แปลง โอ เป็นอว รัสสะอาเป็นอซ้อนสฺ.
  26. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  27. อสุญฺญ : (วิ.) ไม่ว่าง, ไม่เปล่า, ไม่ว่างเปล่า.
  28. อเหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
  29. อโห : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อนิจจา, พุทโธ่, ดังเราชม, ดังเราติเตียน, น่าอัศจรรย์หนอ.
  30. อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
  31. อากาสฏฺฐ : ค. ดำรงหรืออาศัยอยู่ในอากาศ, ที่สถิตอยู่ในอากาศ
  32. อากาสธาตุ : อิต. อากาศธาตุ, ที่ว่าง, สภาพที่ว่างเปล่า
  33. อากิญฺจญฺญ : นป. ความไม่มี, ความว่างเปล่า
  34. อาคนฺตุกวตฺต : นป. วัตรหรือกิจที่ต้องทำแก่ภิกษุผู้จรมา
  35. อาจาม : (ปุ.) ข้าวตัง.คือข้าวสุกที่ติดเป็นแผ่นเกรียมอยู่ที่ก้นหม้อหรือกะทะ.อาปุพฺโพ, จมุอทเน, โณ.
  36. อาชญฺญ : (วิ.) รู้พลัน, รู้รวดเร็ว.อาปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย.ลงนาปัจ.ประจำธาตุแปลงญา เป็น ชารัสสะลบอา ที่ นาลบณฺรวมเป็นนฺยแปลงนฺย เป็น ญแปลงญเป็นญฺญหรือแปลงนฺยเป็นญฺญก็ได้.ดูวิ.อาชานียด้วย.
  37. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  38. อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
  39. อาทิจฺจ : (ปุ.) ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์, ตะวัน, ดวงตะวัน.วิ. อาภุโสทิปฺปตีติอาทิจฺโจอาปุพฺโพ, ทิปฺทิตฺติยํ, โณฺย.แปลงปฺเป็นจฺลบณิรวมเป็นจฺยแปลงจฺยเป็นจฺจฏีกาอภิฯอาบทหน้าทิปฺธาตุอปัจ.ลงยปัจ.ประจำธาตุเป็นจฺจอทิติยาปุตฺโตอาทิจฺโจ.อทิติยาอปจฺจํอาทิจฺโจ.ยปัจ.โคตตตัท.ทีฆะต้นศัพท์ ลบอิที่ติเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจฺจรูปฯ ๓๕๔.สยํปภายนฏฺฐายอาทิกปฺปิเกหิอิจฺโจอุปคนฺ-ตพฺโพติอาทิจฺโจอาทิกปฺปิกปุพฺโพ, อิคติยํ, ริจฺโจ, กปฺปิกโลโป.ลงจฺจหรืออจฺจปัจ.แทนริจฺจ ก็ได้.ส. อาทิตฺย.
  40. อาทุ : อ. หรือ, หรือว่า, แต่, แน่นอน
  41. อาทู : (อัพ. นิบาต) หรือว่า.
  42. อานุปุพฺพิกถา : อิต. ถ้อยคำ หรือเทศนาที่แสดงตามลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ
  43. อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
  44. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
  45. อาร : (ปุ.) ซี่, ซี่จักร, กำ(ซี่ของล้อรถหรือเกวียน).ดูอรด้วย.
  46. อารญฺช : (นปุ.) อ่าง, อีเลิ้ง ( ตุ่มหรือโอ่งใหญ่)
  47. อารมฺมณปจฺจย : ป. ปัจจัยหรือเครื่องสนับสนุนคืออารมณ์
  48. อารู : ป. สีแดงหรือสีเหลือง
  49. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  50. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | [651-700] | 701-750 | 751-800 | 801-847

(0.0639 sec)