Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หรือเปล่า, เปล่า, หรือ , then ปลา, เปล่า, หรอ, หรอปลา, หรือ, หรือเปล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หรือเปล่า, 847 found, display 701-750
  1. อาหจฺจ : (ปุ.) การจรด (เอาของมาชนกัน), การชน, การชนกัน. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โจ, จสฺส จฺโจ, รฺโลโป. หรือลง ริจฺจ ปัจ. ลบ รฺ และ ริ.
  2. อาโห : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่.
  3. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  4. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  5. อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
  6. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  7. อุจฺจาวจ : (วิ.) มาก, ต่าง ๆ, สูงและต่ำ, สูง หรือต่ำ, ผิด ๆ ถูก ๆ. วิ. อุจฺจํ จ ตํ อวจํ เจติ อุจฺจาวจํ. อุจฺโจ วา อวโจ วา อุจฺจาวโจ. ส. อุจฺจาวจ.
  8. อุญฺฉาปตฺต : ป. ภาชนะหรือบาตรสำหรับขอ
  9. อุฏณฺฑ, อุฏฏณฺฑ : นป. กระท่อมหรือเรือนที่มีเครื่องกั้น
  10. อุณฺณา : (อิต.) ขน, ขนสัตว์ (ขนแกะเป็นต้น), ขนระหว่างคิ้ว, อุณา (จุดหรือแต้มระหว่าง คิ้ว).
  11. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  12. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  13. อุทกสตฺถ : (นปุ.) อุทกศาสตร์ วิชาที่กล่าวถึง น้ำ การแปรปรวนของน้ำ เกี่ยวกับการวัด หรือการสำรวจแผนที่ทะเล.
  14. อุทฺทณฺฑ : นป. กระท่อมชนิดหนึ่ง, กุฎีหรือเรือนที่มีเครื่องกั้น
  15. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  16. อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
  17. อุทาว : อ. หรือ, หรือว่า
  18. อุทาหุ : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่.
  19. อุปกฺกิตก : ป. ทาสที่ซื้อหรือไถ่มา
  20. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  21. อุปทา อุปาทา : (อิต.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของฝาก, บรรณาการ. (ของที่ส่งไปให้ด้วย ความเคารพนับถือ หรือด้วยไมตรี). วิ. อุปคนฺตฺวา ทาตพฺพโต อุปทา. อุปคนฺตฺวา- ปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. อุปทา.
  22. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  23. อุปเสนิยา : อิต. คนหรือสัตว์ที่น่ารัก
  24. อุโปสถทิวส : (ปุ.) วันอุโบสถ คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันที่พระสงฆ์ลง อุโบสถฟังสวดพระปาติโมกข์ สำหรับ อุบาสกอุบาสิกา คือวันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันรักษาศีลฟัง ธรรม.
  25. อุพฺภนา อุภนา : (อิต.) ความเต็ม, ฯลฯ. ศัพท์ หลังลบ พฺ หรือตั้ง อุภฺ ปูรเณ, ยุ.
  26. เอกโตปญฺญ ตฺติ : (อิต.) เอกโตบัญญัติ (บัญญัติ สำหรับภิกษุหรือภิกษุณี เพียงฝ่ายใดฝ่าย หนึ่ง).
  27. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  28. เอกเสยฺยา : อิต. ฟูกหรือเบาะสำหรับนอนคนเดียว
  29. เอกากินี : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงที่อยู่เปล่าเปลี่ยว
  30. เอกากิย : ค. โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว
  31. เอกากี : (วิ.) ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เปล่าเปลี่ยว. เอกศัพท์ อากี ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๕.
  32. เอกิกา : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงเปล่าเปลี่ยว
  33. เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
  34. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  35. โอกน : ป. แมลงหรือสัตว์เล็กๆ
  36. โอวฏฺฏิก : (นปุ.) วลัย คือ กำไลมือ ทองกร หรือของที่เป็นวงกลม, รังดุม, เข็มขัด, พกผ้า.
  37. ปลาป : ป. การพูดพร่ำ, การพูดมาก
  38. ปลาปิต : กิต. ดู ปลาต
  39. ปลาปี : ค. ผู้พูดพร่ำ
  40. ปลาเปติ : ก. ให้หนีไป
  41. ปลายี : ค. ผู้หนีไป
  42. ปลาล : นป. ฟาง
  43. ปลาลปุญฺช : ป. กองฟาง
  44. ปลาส : ป. ใบไม้; ความขึ้งเคียด, ความปองร้าย, การตีเสมอ
  45. ปลาสาท : ค. มีใบไม้เป็นอาหาร, มีหนามเป็นอาหาร, แรด
  46. ปลาสี : ค. มีความปองร้าย
  47. วาริช : ค. เกิดแต่น้ำ; ปลา
  48. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  49. จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
  50. นิปฺปลาป : ค. ไม่พูดพร่ำ, ไม่พูดมาก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-847

(0.0881 sec)