Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อยู่ห่างๆ, ห่างๆ, อยู่ , then หางๆ, ห่างๆ, อย, อยหางๆ, อยู่, อยู่ห่างๆ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อยู่ห่างๆ, 859 found, display 251-300
  1. ธมฺมชีวี : (ยิ.) ผู้เป็นอยู่โดยปกติโดยธรรม, ผู้เป็นอยู่ตามธรรมโดยปกติ, ผู้มีปกติเป็น อยู่โดยธรรม, ผู้เป็นโดยอยู่ธรรม, ผู้เป็น อยู่ตามกฎหมาย.
  2. ธมฺมฎฐ : (วิ.) ผู้ตั้งซึ่งธรรม, ผู้ดำรงอยู่ใน ธรรม. วิ. ธมฺเม ติฎฺฐตีติ ธมฺมฎโฐ. ธมฺม+ ฐา+อปัจ.
  3. ธมฺมฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในธรรม, ฯลฯ.
  4. ธมฺมฏฺฐ : ค. ผู้ตั้งอยู่ในธรรม, ผู้เที่ยงธรรม
  5. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  6. ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
  7. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  8. ธมฺมปติฎจิต : (วิ.) ผู้ตั้งแล้วในธรรม, ผู้ ดำรงอยู่ในธรรม.
  9. ธมฺมวิหารี : ค. ผู้มีธรรมเป็นที่อยู่อาศัย, ผู้เป็นอยู่โดยธรรม
  10. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  11. ธรติ : ก. ทรงจำไว้, จำไว้, สวมใส่; เหลืออยู่, ต่อไป, มีชีวิตอยู่, เป็นอยู่
  12. ธาตุ : (วิ.) ผู้ทรงไว้. ธา ธารเณ, ดุ. ผู้ตั้งไว้, ผู้ดำรงอยู่. ฐา คตินิวุตฺติยํ, ตุ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  13. ธุวสฺสว : ค. ซึ่งไหลไปอยู่เป็นนิตย์, ซึ่งไหลออกเสมอๆ
  14. นครวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ในพระนคร, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  15. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  16. นตฺถิ : ก. ไม่มี, ไม่อยู่
  17. นตฺถิภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง... ไม่มีอยู่, ภาวะ แห่ง...ไม่มีอยู่, ความไม่มี.
  18. นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
  19. นนฺทิภว : ป. ความมีอยู่, ความดำรงแห่งความเพลิน, ความเพียบพร้อมไปด้วยความเพลิดเพลิน
  20. นาคภวน : นป. นาคพิภพ, ภพของนาค, ที่อยู่ของนาค, นาคโลก
  21. นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
  22. นาคร, (นาคริก) : ค. ผู้อยู่ในเมือง, ชาวเมือง, อย่างชาวเมือง, สุภาพ, อ่อนโยน
  23. นานาสวาส : ป., ค. การอยู่ร่วมโดยมีธรรมวินัยต่างกัน, มีสังวาสต่างกัน
  24. นานาสวาสก : ค. ผู้อยู่ร่วมในธรรมวินัยต่างกัน, ผู้อยู่ในคณะต่างกัน
  25. นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
  26. นาวิถี : อิต. คนเรือผู้หญิง, หญิงผู้อยู่ในเรือ
  27. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  28. นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
  29. นิเกตวนฺตุ : ค. ผู้มีบ้าน, มีที่อยู่อาศัย, ผู้อยู่บ้าน
  30. นิเกตวาสี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในบ้านหรือในสำนัก
  31. นิเกตี : ค. ผู้มีบ้าน, ผู้อาศัยอยู่ในบ้าน
  32. นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
  33. นิโคฺรธาราม : (ปุ.) นิโครธาราม ชื่อวัดอยู่ใน เมืองกบิลพัสดุ์ ซึ่งเจ้าศากยะสร้างถวาย.
  34. นิจฺจสีล : นป. ศีลซึ่งรักษาอยู่เป็นนิตย์
  35. นิปลาวิต : ค. ซึ่งลอยน้ำ, ซึ่งลอยอยู่ในน้ำ
  36. นิพฺพิสย : ค. ผู้ไม่มีที่อยู่ที่อาศัย, ผู้ถูกเนรเทศ, ผู้ถูกไล่
  37. นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
  38. นิรามิสุข : (นปุ.) สุขมีเหยื่อออกแล้ว, ฯลฯ, นิรามิสุข สุขไม่มีอามิสคือเป็นสุขอยู่เอง. ไม่ต้องมีสิ่งใดเป็นเครื่องล่อใจ เป็นสุขของ พระอรหันต์.
  39. นิราลยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีที่อยู่อาศัย
  40. นิรีห, นิรีหก : ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว, นิ่ง, อยู่เฉยๆ
  41. นิลย : (ปุ.) เรือน, รัง, ที่อยู่. นิปุพฺโพ. ลิ สิเลสเน, โณ. ส. นิลย.
  42. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  43. นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
  44. นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
  45. นิวาสน : (นปุ.) การอยู่, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  46. นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
  47. นิวาสิก, นิวาสี : ค. ผู้อยู่, ผู้อาศัย, ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย
  48. นิวาเสติ : ก. ประดับ, ตกแต่ง, แต่งตัว, นุ่งห่มให้อยู่
  49. นิวุตฺถ : ค. ซึ่งอยู่แล้ว, อาศัยแล้ว
  50. นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-859

(0.0765 sec)