Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อยู่ห่างๆ, ห่างๆ, อยู่ , then หางๆ, ห่างๆ, อย, อยหางๆ, อยู่, อยู่ห่างๆ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อยู่ห่างๆ, 859 found, display 651-700
  1. อพฺยย : (วิ.) คงที่, อยู่ที่, ไม่สิ้น, ไม่เสื่อม, ไม่แปลง, ไม่เปลี่ยน, ไม่เปลี่ยนแปลง, ไม่แปลผัน, ไม่ฉิบหาย.นปุพฺโพ, พฺยยฺขเย, อ.
  2. อภิติฏฺฐติ : ก. ปกครอง, ดำรงอยู่เหนือ, ยืนเด่น, ขึ้นหน้า
  3. อภินิวิสฺสติ : ก. ยึดมั่น, อยู่ประจำ, อาศัยอยู่
  4. อภิปุพฺพ : (วิ.) มีอภิเป็นบทหน้า, มีอภิอยู่หน้า.
  5. อภิสชฺชน : (วิ.) อันยัง....ให้ข้องอยู่, อันยัง....ให้ติดอยู่.อภิปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, ยุ. ลง ย ปัจ.ประจำธาตุแปลงชฺยเป็นชฺช ยุเป็น อน.
  6. อภิสนฺทิ : อิต. อัชฌาสัย, ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย
  7. อภิสนฺธิ : (อิต.) ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย, อัธยาศัย.วิ.จิตฺเตอภิสนฺ-ธายเตติอภิสนฺธิ.อภิสํปุพฺโพ, ธาธาร-เณ, อิ.
  8. อภิสมฺพุทฺธาน : ค. ตื่นอยู่, รู้แจ้ง
  9. อมนฺถมาน : กิต. ไม่สีอยู่, ไม่ถูอยู่
  10. อมฺหา : ๑. อิต. แม่โค ; ๒. ก. (เรา) มีอยู่, เป็นอยู่
  11. อมฺหิ : ก. (ข้า) มีอยู่, เป็นอยู่
  12. อมารเธยฺย : ค. ผู้ไม่อยู่ในบ่วงของมาร, ผู้ไม่อยู่ในอำนาจของมาร
  13. อมาวสีอมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และพระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวันสิ้นเดือนทางจันทรคติ.วิ. อมาสหวสนฺติรวิจนฺทายสฺสํสาอมาวสี.อมาปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, ณี.ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  14. อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  15. อรญฺญก : (วิ.) มีอยู่ในป่า, มีในป่า.วิ. อรญฺเญภโวอรญฺเญโก.กปัจ.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอรญฺญโก.
  16. อรญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ในป่า, การถืออยู่ในป่าเป็นวัตร
  17. อรญฺญวาส : (วิ.) ผู้อยู่ในป่า, ผู้อยู่ป่า.
  18. อรญฺญวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าโดยปกติ, ผู้อยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีปกติอยู่ในป่า.วิ.ดูธมฺมจารีเทียบ.ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติวิ.อรญฺเญวาโสสีโลอสฺสาติอรญฺญวาสี.อีปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  19. อรญฺญวิหาร : ป. วิหารหรือกระท่อมที่อยู่ในป่า
  20. อรญฺญิก : (วิ.) ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นวัตร.วิ.อรญฺเญวสนํสีลมสฺ-สาติอรญฺญิโก.อรญฺเญวาวสนสีโลอรญฺญิโก.ผู้อยู่ในวิหารอันตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญปติฏฺฐวิหาเรวสตีติอรญฺญิโก.มีอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญอตฺถีติอรญฺญิโก อรญฺเญภโววาอรญฺญิโก.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอรญฺญิโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  21. อรณวิหารี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในที่อันสงบ
  22. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  23. อริยวาส : ป. การอยู่อันประเสริฐ, สภาพของจิตที่ประเสริฐ
  24. อริยวิหาร : ป. อริยวิหาร, การอยู่อันประเสริฐ, การอยู่ดี, การปฏิบัติดี
  25. อรูปฐายี : ค. ซึ่งดำรงอยู่ในชั้นอรูปพรหม
  26. อรูปภว : (ปุ.) ที่เกิดของสัตว์ไม่มีรูป, ที่อยู่ของสัตว์ไม่มีรูป, ที่เกิดของสัตว์ผู้มีแต่นาม, ที่อยู่ของสัตว์ผู้มีแต่นามล, อรูปภพ.
  27. อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
  28. อลคฺค : (วิ.) ไม่ข้องอยู่แล้ว, ไม่ข้องแล้ว.
  29. อวจร : ๑. นป. การท่องเที่ยวไป, ชั้น, แดน, บริเวณ, เขต, วิสัย ; ๒. ค. ซึ่งท่องเที่ยวไป, ซึ่งอยู่อาศัย
  30. อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
  31. อวตฺถา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความดำรงอยู่, ความกำหนด, อวปุพฺโพ, ถาคตินิวตฺติยํ, อ, ตฺสํโยโค.ส.อวสฺถา.
  32. อวตฺถาน : (นปุ.) การตั้งอยู่, ฯลฯ, ความตั้งอยู่, ฯลฯ.ยุปัจ.
  33. อวสฺสยติ : ก. อิง, อาศัยอยู่, เนื่องอยู่ด้วย
  34. อวสฺสิต : ก. กิต. อิงแล้ว, อาศัยอยู่แล้ว, เนื่องอยู่แล้ว, ฝนไม่ตกแล้ว, ไม่พำนักแล้ว
  35. อวสฺเสติ : ก. พิง, อาศัย, เนื่องอยู่
  36. อวสิฏฺฐ : กิต. เหลืออยู่แล้ว, ค้างอยู่แล้ว
  37. อวสิฏฺฐก : ค. เหลือลง, คงอยู่
  38. อวสี : ๑. ค. ไม่มีอำนาจ ; ไม่ชำนาญ ; ควบคุมไม่ได้ ; ๒. ก. ได้หยุดพักอยู่แล้ว
  39. อวหียติ : ก. ถูกทอดทิ้ง, ล้าหลังอยู่
  40. อวาส : ป. การอยู่, การอาศัย
  41. อวิชฺชมาน : กิต. ไม่มีอยู่, ไม่ปรากฏอยู่
  42. อวิทฺธสน : (วิ.) ไม่กระจัดกระจาย, ไม่ขจัดขจายไม่สลาย, มีอยู่, คงที่.
  43. อวิปฺปวาส : ๑. ป. การไม่อยู่ปราศจาก, ความตั้งใจ ; ๒. ค. ซึ่งไม่ทอดทิ้ง, ตั้งใจ, กระตือรือร้น
  44. อวิสย : ค. ไม่อยู่ในวิสัย, ไม่อยู่ในขอบเขต, ไม่ใช่วิสัย
  45. อวุสิต : ค. ไม่อยู่อาศัยแล้ว
  46. อเวหาสกุฏิ : อิต. กุฎีไม่เป็นร้าน, กุฎีที่ไม่แขวนอยู่ในอากาศ คือ กุฎีไม่สูง
  47. อสชฺชมาน : ค. ไม่ข้องอยู่, ไม่ติดอยู่
  48. อสติ : ๑. ก. กิน, กลืนกิน, ดื่ม ; ๒. กิต. เมื่อไม่มี, ไม่มีอยู่, ไม่เป็นอยู่ ; ๓. ค. ไม่มีสติ
  49. อสนฺต : ค. ไม่มีอยู่ ; ไม่สงบ, ไม่ระงับ, คนชั่ว
  50. อสนฺตุฏฺฐิ, - ฐิตา : อิต. ความไม่สันโดษ, ความไม่ความพอใจในของที่ตนมีอยู่
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | [651-700] | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-859

(0.0720 sec)