Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ศุข , then ศุข, สุข .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ศุข, 86 found, display 51-86
  1. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  2. มรณพฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ คือความตาย, ทุกข์เครื่องยังสุขให้ฉิบหายคือความตาย, ความตายและความฉิบหาย.
  3. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  4. สคฺค : ป. สวรรค์, ที่แห่งความสุข
  5. สมฺผ : (นปุ.) คำอันผ่าซึ่งประโยชน์, คำอันทำลายซึ่งประโยชน์. วิ. สํหิตํ ปโยชน์ ผาตีติ สมฺผํ. คำอันยังประโยชน์ให้พินาศ, คำอันยังสุขให้พินาศ, คำอันประโยชน์สุขให้พินาศ. วิ. สํหิตํ ปโยชนํ ผาเลติ วินาเสตีติ สมฺผํ. สํหิตํ สุขญฺจ ผาเลติ วินาเสตีติ วา สมฺผํ. สํปุพฺโพ, ผา ผาลเน, อ.
  6. สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
  7. สาทน : (นปุ.) ความหวาน, ฯลฯ, ความสุข. ยุ ปัจ.
  8. สิว : (วิ.) งาม, ดี, เกษม, สำราญ, สุขสำราญ, เป็นศรีสวัสดิ์, เจริญ, ดีงาม. ส. ศิว.
  9. สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
  10. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  11. สุขาภิบาล : (ปุ.) การรักษาซึ่งความสุข, การระวังรักษาให้เกิดความสุข, สุขาภิบาล ชื่อส่วนหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค.
  12. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  13. สุขี : (วิ.) ผู้มีสุข, ผู้มีความสุข, ฯลฯ.
  14. สุขุทฺรย : (วิ.) มีสุขเป็นกำไร.
  15. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  16. สุเขติ : ก. ให้มีความสุข
  17. สุเขธิต : (วิ.) เจริญด้วยความสุขวิ.สุเขนเอธตีติ สุเขธิโต. สุขปุพฺโพ, เอธฺ วทฺธเน, โต, อิอาคโม. แปลง เอ เป็น โอ เป็น สุโขธิโตบ้าง.
  18. สุเขสิ : ค. ผู้แสวงหาความสุข
  19. สุชา : (อิต.) สุชา ชื่อทัพพีสำหรับตักเครื่องสังเวยเพื่อบูชายัญ. วิ. หวฺยนฺนาทีนํ สุขคหณคฺถํ ชายตีติ สุชา.
  20. สุภร : (วิ.) อัน...เลี้ยงได้โดยง่าย, เลี้ยงง่าย. วิ. สุเขน ภรียตีติ สุกโร. สุขปุพฺโพ, ภรฺ โปสเน, โข.
  21. สุสฺสย : (ปุ.) การนอนได้โดยง่าย. สุขปุพฺโพ. สี สเย, โข, สฺสํโยโค.
  22. โสขย : นป. ความสุข, ความสบาย
  23. โสตฺถิ : (นปุ.) ความสวัสดี, สวัสดี, ความเจริญ, ความดี, ความงาม, ความปลอดโปร่ง, ความสุข.
  24. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  25. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  26. อกฺขย : ๑. นป. ความสงบสุข, พระนิพพาน ; ๒. ค.ไม่เปลี่ยนแปลง, ยั่งยืน
  27. อตฺตทตฺถ : ป. ประโยชน์ตน, ความสุขของตน
  28. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  29. อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  30. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  31. อนุทยาอนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู.วิ.อนุทยติปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจหึสตีติอนุทยาอนุทฺทยาวา.อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  32. อนุทยา อนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู. วิ. อนุทยติ ปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ อนุทยา อนุทฺทยา วา. อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  33. อสฺสาลี : ค. กลับฟื้น, สดชื่น, มีความสุข
  34. อาปุจฺฉน : (นปุ.) การอำลา, ความยินดี, ความยินดีมาก, กิริยาดี.การไตร่ถามสุขทุกข์.อาทรปุพฺโพปุจฺฉฺปุจฺฉเน, ยุ.
  35. อาฬฺหิย, - หิก : ค. ร่ำรวย, สุขสบาย, มีโชค
  36. 1-50 | [51-86]

(0.0141 sec)