Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นิพพาน , then นพพาน, นิพพาน, นิพฺพาน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นิพพาน, 88 found, display 51-88
  1. ปารคต : ค. ถึงฝั่ง, ถึงพระนิพพาน
  2. ปารคเวสี : ค. ผู้แสวงหาฝั่ง, ผู้แสวงหาพระนิพพาน
  3. ปารคู : ค. ผู้ถึงฝั่ง, ผู้บรรลุพระนิพพาน
  4. ภวปาร : (นปุ.) ฝั่งแห่งภพ, พระนิพพาน.
  5. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  6. มหานิพฺพาน : (นปุ.) พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงเจริญ, พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงบูชา, มหานฤพาน.
  7. มุตฺติ : (อิต.) มุตติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  8. วิวฏฺฏ : นป. พระนิพพาน
  9. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  10. สุโคจร : (วิ.) มีพระนิพพานเป็นอารมณ์. สุทฺธิ + โคจร. ลบ ทฺธิ.
  11. สุทฺธิ : (อิต.) สุทธิ ชื่อของพระนิพพาน ชื่อ ๑, พระนิพพาน.
  12. สุทุทฺทส : (นปุ.) สุทุททสะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปสฺสิตํ ุ สุทุกฺกรตาย สุททุทฺทสํ. สุ ทุ ปุพฺโพ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. แปลง อิ ที่ ทิ เป็น อ ซ้อน ทุ.
  13. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  14. โสตาปตฺติยงฺค : (วิ.) อันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน.
  15. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  16. อกฺขย : ๑. นป. ความสงบสุข, พระนิพพาน ; ๒. ค.ไม่เปลี่ยนแปลง, ยั่งยืน
  17. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  18. อกตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซี่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ กระทำไม่ได้แล้ว, ผู้รู้ซึ่งพระนิพพาน.
  19. อตฺถคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน.
  20. อนิกสฺสน : (นปุ.) ที่ไม่เห็นด้วยจักษุ, อนิทัสสนะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  21. อนีติก : (นปุ.) ที่ไม่มีอันตรายเข้าไปรบกวน, อนีติกะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.วิ.อีติอุปทฺทโวยตฺถนสนฺติตํอนีติกํ.
  22. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  23. อปโลกิต : (นปุ.) อปโลกิตะ ชื่อของพระนิพพานพระนิพพาน.วิ.นปลุชฺชนภาวํคจฺฉตีติอปโลกิตํ.
  24. อปโลกิน : นป. พระนิพพาน
  25. อพฺยาปชฺฌ : (นปุ.) อัพยาปัชฌะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน, ดูอวฺยาปชฺฌ.
  26. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  27. อมตคามี : ค. ซึ่งไปสู่พระนิพพาน
  28. อมตทฺวาร : ป. ประตูพระนิพพาน
  29. อมตทสฺส, อมตทสฺสี : ค. ผู้เห็นพระนิพพาน
  30. อมตทุนฺทุภิ : อิต. กลองแห่งพระนิพพาน, กลองประกาศอมตธรรม
  31. อมตธาตุ : อิต. พระนิพพานธาตุ, ธาตุแห่งพระนิพพาน
  32. อมตปตฺต : ค. ผู้เข้าถึงพระนิพพาน, ซึ่งบรรลุพระนิพพาน
  33. อมตปท : (ปุ. นปุ.) ทางแห่งความไม่ตาย, ทางแห่งอมตะ, ทางแห่งพระนิพพาน.
  34. อมตผล : นป. ผลแห่งพระนิพพาน, ผลอันไม่ตาย
  35. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  36. อสงฺขตธาตุ : (นปุ.) อสังขตธาตุชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  37. เอกพิชี : (ปุ.) เอกพิชี ชื่อของพระโสดาบัน ๑ ใน ๓ ชื่อ, พระโสดาบันผู้มีพืชคือภพเดียว คือเกิดอีกครั้งเดียว ก็ได้สำเร็จเป็นพระ อรหันต์ และนิพพานในภพนั้น.
  38. 1-50 | [51-88]

(0.0060 sec)