Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โต๊ะเขียนหนังสือ, หนังสือ, เขียน, โต๊ะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โต๊ะเขียนหนังสือ, 93 found, display 51-93
  1. โภชนาผลก : (นปุ.) โต๊ะอาหาร.
  2. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  3. มรณปณฺณ : (นปุ.) หนังสือบอกการตาย.
  4. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  5. รงฺคชีว รงฺคาชีว : (ปุ.) บุคคลผู้เลี้ยงชีพด้วยสี, ช่างเขียน.
  6. รจนา : (อิต.) การแต่ง, การร้อยกรอง, การประพันธ์, รจนา (การแต่งหนังสือ). รจฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  7. ลิกฺขติ : ก. เขียน, สลัก, จารึก
  8. ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
  9. ลิปิ : อิต. การเขียน, ตัวอักษร, อักขระ
  10. ลิปิการ : ป. ผู้เขียน, เสมียน
  11. เลข : ป. สิ่งที่เขียน, ปากกา, ดินสอ; แถว, แนว
  12. เลขก : ป. ผู้เขียน, เสมียน, เลขา
  13. เลขน : นป. การเขียน; อักษร, สิ่งที่เขียน
  14. เลขา : อิต. สิ่งที่เขียน, ตัวอักษร, อักขระ, ไร่ป่า, แถว, แนว
  15. วคฺค : ป. วรรค, พรรค, หมู่, คณะ; วรรคตอนของหนังสือ
  16. วฺยญฺชน : นป. แกง, กับข้าว; ตัวหนังสือ
  17. วิเลข : ป. การขีดเขียน
  18. เวยฺยคฺฆ : ค. หุ้มด้วยหนังสือ
  19. สพฺพญฺญู : (ปุ.) พระสัพพัญญู พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง (พระผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนมิได้). วิ. สพฺพสงฺขตมสงฺตตํ อนวเสสํ ชานาตีติ สพฺพญฺญู. รู ปัจ. สรรพัชญ์ สรรเพชญ์สองคำนี้เขียนตามรูปสันสกฤต. ส. สรฺวชฺฌ.
  20. สโยค : ป. การประกอบ, การสะกดตัวหนังสือ
  21. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  22. โสธยปณฺณ : (นปุ.) ปรุ๊ฟ คือแผ่นหนังสือที่พิมพ์มาให้เจ้าของต้นฉบับตรวจว่าเรียงถูกต้องตามต้นฉบับหรอไม่.
  23. หริตาล : (นปุ.) สีเหลือง, หรตาล ชื่อแร่ชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุสารหนูและกำมะถันใช้สำหรับเขียนลายรดน้ำและสมุดดำ. ส. หริตาล.
  24. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  25. อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
  26. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  27. อกฺขริกา : (อิต.) เขียนทาย, เขียนทายกัน.
  28. อขุ : (ปุ.) หนังสือ, อักขระ, อักษร, นปุพฺโพ, ขี ขเย, อุ. แปลว่า หนู ก็มี.
  29. องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
  30. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  31. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  32. อปฺปงฺก : (ปุ.) หางตา, ลายเขียน.
  33. อภิเลเขติ : ก. ให้เขียน, ให้จารึก
  34. อากาส : (ปุ.) ช่องว่าง, ช่องว่างมีในกาย, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า (ไถไม่ได้ ไม่อาจไถ เขียนไม่ได้), วิ. นกสฺสตีติอากาโส.กสิตุวิเลขิตุนสกฺโกตีติอตฺโถ.ภูสํกาสนฺเตทิปฺ-ปนฺเตปทตฺถาเอเตนาติวาอากาโส.อา-ปุพฺโพ, กสฺวิเลขเน, โณ.ส.อากาศ.
  35. อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
  36. อายาจนปณฺณ : (นปุ.) หนังสือยื่นคำร้อง, ใบยื่นคำร้อง, ฏีกา.
  37. อายุตฺต : (ปุ.) เสมียน( เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ ).อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โต.แปลงต เป็นตฺตลบชฺ.
  38. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  39. อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
  40. อุทกเลขา : อิต. การขีดเขียนบนน้ำ
  41. อุลฺลิขน : นป. การหวี, การขีด, การเขียน
  42. อุลฺเลขน : นป. การเขียน, การขูด, การขีด, การกะเทาะออก
  43. 1-50 | [51-93]

(0.0138 sec)