Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ก้อนกรวด, ก้อน, กรวด , then กรวด, กอน, ก้อน, ก้อนกรวด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ก้อนกรวด, 94 found, display 51-94
  1. มธุปิณฺฑิก : (นปุ.) ข้าวสัตตุก้อน, ข้าวสัตตูก้อน.
  2. มโนสิลา : (อิต.) น้ำชาด (คุณสมบัติหรือสาระของชาด). ชาดก้อน. ชาดเป็นชื่อของวัตถุสีแดงเป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี.
  3. มรุมฺพ : (นปุ.) กรวด, แร่.
  4. มสปุญฺช : ป. ก้อนเนื้อ
  5. เมฆ : (ปุ.) เมฆ ชื่อไอน้ำที่รวมกันเป็นก้อนลอยอยู่ในอากาศ วิ. มิหติ โลกํ วสฺส ธาราหีติ เมโฆ. มิหฺ เสจเน, โฆ. แปลง อิ เป็น เอ ลบ หฺ.
  6. รฏฺฐปิณฺฑ : ป. ก้อนข้าวที่ได้มาจากประชาชน
  7. เลฑฺฑุ : ป. ก้อนดิน
  8. โลณผล : นป., โลณสกฺขรา อิต. ก้อนเกลือ
  9. วาลิกา, วาลุกา : อิต. กรวด, ทราย
  10. สกฺขรา : อิต. น้ำตาล, น้ำตาลกรวด
  11. สิลา : (อิต.) หิน, หินก้อน, ผา(หิน หินที่เขา), สิลา, ศิลา, ไศล (สะไหล). สิลฺ อุจฺเจ, อ. สิ เสวายํ วา, โล.
  12. สิลาคุฬ : ป. ก้อนหิน, ลูกหิน
  13. สุธาปิณฺฑ : (ปุ.) ก้อนแห่งปูนขาว, ก้อนปูนขาว.
  14. หิมปิณฺ : (ปุ.) ก้อนหิมะ, ก้อนน้ำแข็ง.
  15. อนาถปิณฺฑิก : (ปุ.) เศรษฐีผู้มีก้อนข้าวเพื่อคนยากจน, อนาถปิณฑิกะ ชื่อของเศรษฐีท่านหนึ่งสมัยพุทธกาล.
  16. อพฺภปฏล : นป. กลุ่มเมฆ, ก้อนเมฆ
  17. อพฺภามตฺต : ค. น่ากลัว, ใหญ่โต, (มีขนาดเท่าก้อนเมฆ)
  18. อมฺภ : (ปุ.) หิน, ก้อนหิน, ศิลา. อมฺ คติยํ, โภ.อภิวาสทฺเท, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  19. อโยคุฬ : ป. ก้อนเหล็ก
  20. อสฺม : (ปุ.) ศิลา, หิน, ก้อนหิน.วิ. อสฺสเตติอสฺมา. อสุ เขปเน, พยฺาปเน วา, โม.ลบอุแจกวิภัติตามแบบราช.
  21. อาโลป : (ปุ.) คำ, คำข้าว, ก้อนข้าว. อาปุพฺโพ สมฺปิณฺฑเน, ลุปฺ เฉทเน, โณ.
  22. อาสถปิณฺฑ : ป. ก้อนข้าวที่เขาเลี้ยงในที่พักคนเดินทาง, อาหารในโรงทาน
  23. อุทฺทน : (นปุ.) ก้อนเส้า, เตา, เตาไฟ. ดู อุทฺธน.
  24. อุทฺธน : (นปุ.) ก้อนเส้า, เตา, เตาไฟ. วิ. อุปริ ธิยฺยเต ถาลฺยาทิก มสฺมินติ อุทฺธนํ. อุปริปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ.
  25. จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
  26. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  27. ตาว : (อัพ. นิบาต) ตราบนั้น, เพียงนั้น, เท่านั้น, โดยแท้, แน่แท้, ก่อน, แรก.
  28. ปฏิกจฺจ : ค. ก่อน, ด่วน, ล่วงหน้า
  29. ปฐม : อ. ก่อน, ครั้งแรก
  30. ปถม : (วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
  31. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  32. ปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ก่อน, แรก, ฯลฯ, ในกาลก่อน
  33. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  34. ปุราตน : (วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
  35. ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  36. โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
  37. สุกร สูกร : (ปุ.) หมู, สุกร (สุกอน). วิ. สุนฺทรํ ผลํ กโรตีติ สุกโร สูกโร วา. อ ปัจ. ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. ศูกร, สูกร.
  38. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  39. อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  40. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  41. อาท : (วิ.) ต้น, ก่อน, แรก.
  42. อาทิ : (วิ.) ก่อน, แรก, ต้น, เป็นต้น, ปฐม, ถือเอา, อัน...ย่อมถือเอา.วิ. อาทียเตปฐมํคณฺหียเตติอาทิ.อาทียตีติวาอาทิ.อาปุพฺโพ, ทาอาทาเน, อิ.ส.อาทิ.
  43. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  44. 1-50 | [51-94]

(0.0494 sec)