Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องกระจายเสียง, เครื่อง, กระจาย, เสียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องกระจายเสียง, 948 found, display 401-450
  1. นิยฺยานิก : (วิ.) อันนำออก, เป็นเครื่องนำออก เป็นที่นำออก (จากวัฏสงสาร).
  2. นิยฺยานิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรมอันนำสัตว์ออกจากทุกข์. ธรรม อันนำสัตว์ออกจากวัฏสงสาร (ได้แก่ อริยมรรค ๔).
  3. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  4. นิรว : (วิ.) มีเสียงออกแล้ว, ไม่มีเสียง, ปราศ จากเสียง, มีเสียงร้องออกแล้ว, ฯลฯ, ไม่มีเสียงอึกทึก, เงียบ.
  5. นิรามิส : (วิ.) มีเหยื่อออกแล้ว, มีเหยื่อล่อออก แล้ว, มีเครื่องล่อออกแล้ว, มีวัตถุเครื่อง ล่อใจออกแล้ว, ไม่มีเหยื่อ, ฯลฯ, ปราศจาก เหยื่อ, ฯลฯ, หมดเหยื่อ, ฯลฯ, ไร้เหยื่อ, ฯลฯ. นิ+อามิส รฺ อาคม.
  6. นิรามิสุข : (นปุ.) สุขมีเหยื่อออกแล้ว, ฯลฯ, นิรามิสุข สุขไม่มีอามิสคือเป็นสุขอยู่เอง. ไม่ต้องมีสิ่งใดเป็นเครื่องล่อใจ เป็นสุขของ พระอรหันต์.
  7. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  8. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  9. นิสฺสทฺท : ค. ไม่มีเสียง, เงียบสงบ
  10. นิสาท : ค. เสียงเหมือนช้างร้อง
  11. นีรว : ค. ไม่มีเสียง
  12. นูปุร : นป. เครื่องประดับเท้า
  13. ปจฺจตฺถรณ : นป. การปูลาด, เครื่องปูเครื่องลาด
  14. ปจฺจย : ป. เหตุ, เครื่องอาศัย
  15. ปฏล : นป. เครื่องมุง, เครื่องหุ้ม, เยื่อหุ้ม, ซองจดหมาย, หลังคา, เพดาน
  16. ปฏลิกา : อิต. เครื่องปกปิดคลุมด้วยดอกไม้
  17. ปฏิคฺคห : ป. การรับ, ผู้รับ, การต้อนรับ, เครื่องรองรับ, กระโถน; ปลอกสวมนิ้วมือเมื่อเย็บจีวร
  18. ปฏิโฆส : ป. เสียงสะท้อน
  19. ปฏิจฺฉท : ป. เครื่องปกปิด, เครื่องบัง, เครื่องมุง
  20. ปฏิจฺฉาท : ป. การปกปิด, การปิดบัง, การซ่อนเร้น, การอำพราง, การล่อลวง, เครื่องปกปิด, เครื่องนุ่งห่ม, การนุ่งห่ม
  21. ปฏิจฺฉาที : อิต. เครื่องปกปิด, เครื่องป้องกัน, ผ้าปิด (ฝี), ยาพอกเพื่อถอนพิษ
  22. ปฏิภู : ป. ผู้ค้ำประกัน, เครื่องประกัน
  23. ปฏิมนฺตก : ป. ผู้พูดโต้ตอบ, คู่สนทนา; ผู้มีปัญญาเครื่องคิดอ่าน, ผู้รู้จักคิด
  24. ปฏิโมกฺข : ป. การชะแผล; การผูกมัด, เครื่องผูกมัด, ข้อผูกมัด
  25. ปฏิรว : ป. การร้องตะโกน, เสียงคำราม, เสียงร้องตอบ
  26. ปณฺณตฺติก : ค. ซึ่งมีบัญญัติ, ซึ่งมีเครื่องสำแดงให้ปรากฏ, ซึ่งปรากฏชื่อ
  27. ปณฺณธาร : ป. เครื่องรองทำด้วยใบไม้
  28. ปณฺณสญฺญา : อิต. เครื่องกำหนดหมายคือใบไม้, เครื่องหมายทำด้วยใบไม้
  29. ปณฺณสนฺถาร : ป., ค. เครื่องลาดทำด้วยใบไม้; ซึ่งลาดด้วยใบไม้
  30. ปตฺถฏ : กิต. แผ่ไปแล้ว, กระจายไปแล้ว
  31. ปตฺถร : (นปุ.) การลาด, การปู, เครื่องลาด, เครื่องปู, ที่นอน. ปปุพฺโพ. ถรฺ สนฺถรเณ, อ.
  32. ปโตท : ป. ประตัก, เครื่องแทง, ขอสับ (ช้าง) ; เดือย, เดือยไก่
  33. ปถิต : (วิ.) ปรากฏ, มีชื่อเสียง. ปถฺ วิขฺยาเต, โต, อิอาคโม.
  34. ปทสทฺท : ป. เสียงเท้า, เสียงย่างเท้า
  35. ปทารณ : นป. เครื่องทำลาย, การทำลาย, การทำให้แตกออก
  36. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  37. ปนาท : ป. การบันลือลั่น, เสียงโห่ร้องด้วยความยินดี
  38. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  39. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  40. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  41. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  42. ปมาณกต : ค. ที่เขาทำให้เป็นประมาณ, ถือเอาเป็นมาตรฐาน, วางเป็นตัวอย่าง, เป็นเครื่องวัด
  43. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  44. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  45. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  46. ปรโลกหิตาวหนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็น เครื่องนำมาซึ่งประโยชน์เกื้อกูลในโลกอื่น.
  47. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  48. ปริกฺขาร : (วิ.) ( ปัจจัย ) เป็นเครื่องทำรอบ.
  49. ปริกฺเขป : (ปุ.) การวง, เครื่องล้อม, ปริปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, อ, ยุ.
  50. ปริกฺเขปน : (นปุ.) การวง, เครื่องล้อม, ปริปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, อ, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-948

(0.0400 sec)