Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องกระจายเสียง, เครื่อง, กระจาย, เสียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องกระจายเสียง, 948 found, display 601-650
  1. รสิต : นป. เสียงฟ้าร้อง
  2. ราค : ป. สี, เครื่องย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี
  3. ราชกกุธภณฺฑ : นป. เครื่องราชกุธภัณฑ์
  4. ราว : ป. เสียง, เสียงร้อง
  5. รุต : นป. เสียงร้องของสัตว์
  6. ลย : ป. มาตราเวลา = ๑๐ ขณะ ; เสียงรองประสานกับเสียงดนตรี ; จังหวะ
  7. วชฺช : ๑. นป. โทษ, ความผิด; เครื่องดนตรี; สิ่งที่ควรเว้น; ๒. ค. อันเขาพึงกล่าว, ควรพูดติ
  8. วชิร : นป. อาวุธพระอินทร์, รัตนะ, เครื่องมือจาระไนแก้ว, เพชร
  9. วณฺณก : ๑. ค. ผู้ชี้แจ้ง, ผู้พรรณนา; ๒. นป. เครื่องย้อม
  10. วรงฺคนา : อิต. หญิงมีชื่อเสียง
  11. วรูถ : นป. ไม้ค้ำ, เครื่องป้องกัน, เกราะ, โล่
  12. วาชเปยฺย : นป. ชื่อพิธีตั้งพราหมณ์เป็นหัวหน้าในวรรณะ, เครื่องบวงสรวง
  13. วาน : นป. เครื่องร้อยรัด, ตัณหา
  14. วานจิตฺตก : นป. เครื่องลาดมีรูปวิจิตรด้วยการปัก
  15. วาส : ป. การอยู่, ที่อยู่, เครื่องนุ่งห่ม, เครื่องหอม, น้ำหอม, ผ้า
  16. วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
  17. วิกฺกนฺตติ : ก. ร้องเสียงดัง, ตะโกน
  18. วิภูสน : นป. การประดับ, เครื่องประดับ
  19. วิยูหติ : ก. ถอนออก, กระจายไป
  20. วิเลปน : นป. การลูบไล้, เครื่องทา
  21. วิสงฺขาร : ค. ปราศจากเครื่องปรุงแต่ง
  22. วิสฺสุต : กิต. มีชื่อเสียง, ปรากฏแล้ว, ชำนาญแล้ว
  23. เวม : ป. กระสวย, เครื่องทอผ้า
  24. เวส : ป. เครื่องแต่งตัว, เพศ เช่น เพศหญิง, เพศชาย
  25. สกฺการ : ป. การเคารพนับถือ, เครื่องบูชา
  26. สงฺกิณฺณ : กิต. กระจายแล้ว, เกลื่อนกล่นแล้ว, ระคนกันแล้ว
  27. สงฺขล : นป. เครื่องผูกตีนช้าง
  28. สณฺฑาส : ป. คีมปากนกแก้ว, แหนบ, หีบใส่เครื่องมือ
  29. สณติ : ก. ทำเสียง
  30. สทฺท : ป. เสียง, ศัพท์
  31. สทฺทคฺคห : ป. การจับเสียง ; หู
  32. สทฺทเวธี : ป. ผู้ยิงไปตามเสียง
  33. สทฺทายติ : ก. ทำเสียง, ตะโกน
  34. สนฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, สายป่าน, เชือก, เชือกผูกวัว. สํปุพฺโพ, ทา พนฺธเน, ยุ.
  35. สนฺนาห : (ปุ.) เครื่องผูกสอด, เกราะ. ณ ปัจ.
  36. สปฺปจฺจย : ค. มีเครื่องอาศัย
  37. สพฺพคนฺถปฺปหีน : (วิ.) ผู้มีกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งปวงอันละได้แล้ว.
  38. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  39. สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
  40. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  41. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  42. สมฺปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องยังบุคคลให้ถึงพร้อม, คำเชิญ. ส. สมฺปท.
  43. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  44. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  45. สมฺพาหณ : (นปุ.) การชักไปด้วยดี, การขยำ, ฯลฯ, เครื่องนวด, เครื่องดัด. ยุปัจ.
  46. สมฺโพชฺฌ : (ปุ.) ความรู้พร้อม, ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ ณ ปัจ.
  47. สมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้.
  48. สมฺโพธา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้.
  49. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  50. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-948

(0.0537 sec)