Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อิ่มเอิบ, เอิบ, อิ่ม , then อบ, อม, อมอบ, อิ่ม, อิ่มเอิบ, เอิบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อิ่มเอิบ, 95 found, display 51-95
  1. อมุ, อมุก : ส. โน่น, โน้น
  2. อิม : (ไตรลิงค์) นี้. อยํ ซึ่งสำเร็จรูปมาจาก อิมศัพท์ แปลว่า “ดังต่อไปนี้” ได้ในบาง กรณีย์. ส. อิทมฺ.
  3. อูมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ระลอก. วิ. อูเหนฺติ เอเตนาติ อูมิ. อูหฺ วิตกฺเก, มิ, หฺโลโป. อรฺ คมเน วา, มิ, อสฺสุ, ทีโฆ (แปลง อ เป็น อุ แล้ว ทีฆะ), รฺโลโป. ส. อูรฺมฺมิ, อูรฺมิ.
  4. โอม, โอมก : ค. ต่ำกว่า, เลวกว่า, น้อยกว่า
  5. อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
  6. กณฺฑล : (ปุ.) มะพูด ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่ หนาเป็นมัน ผลกลม รสเปรี้ยวอมหวาน.
  7. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  8. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  9. กุเหลิกา : อิต. การอบ, การรมควัน
  10. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
  11. คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
  12. จนฺทคาห จนฺทคฺคาห : (ปุ.) การจับซึ่งดวง จันทร์, การยึดดวงจันทร์, จันทคาธ, จันทรคาธ, จันทคราส, จันทรคราส (ราหู จับจันทร์ ราหูอมจันทร์ วิทยาศาสตร์ว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ ในแนวเดียวกัน โลกอยู่ระหว่างกลางทำ ให้เงาของโลกไปบังดวงจันทร์).
  13. จาฏุ : (วิ.) เป็นที่พอใจ วิ. จาเฏฺติ อมนุญฺญ- ภาวฺนฺติ จาฏุ. จฏฺ เภทเน, ณุ.
  14. ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  15. ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
  16. ธูปน : (นปุ.) การอบ, การรม, การอบควัน, เครื่องหอม, เครื่องฉุน, เครื่องเทศ. ธูปฺ สนฺตาเป, ยุ.
  17. ธูปายิต ธูปิต : (วิ.) เป็นควัน, กลุ้มเป็นควัน, อบควัน, รมควัน.
  18. ธูเปติ : ก. อบหรือรมควันด้วยน้ำมัน, บังหวนควัน
  19. นมสฺสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การนอบน้อม, การเคารพ; เพื่อนอบน้อม, เพื่อเคารพ
  20. นิทฺธูปน : ค. ซึ่งไม่มีกลิ่นหอม, ซึ่งไม่อบกลิ่น, ซึ่งไม่รมควัน
  21. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  22. ปมฺห : (นปุ.) ขนหนังตา, ขนตา, วิ. ปมิโนติ ปมฺหํ. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โห. อมฺ คติยํ วา.
  23. ปริวาสิต : กิต. อบกลิ่นหอมแล้ว, ส่งกลิ่นหอมแล้ว
  24. ปริวาเสติ : ก. อบกลิ่นหอม, ส่งกลิ่น
  25. ปวาสิต : ค. ซึ่งมอบให้, ซึ่งให้เกียรติ; อบกลิ่น
  26. ปวูสิต : ค. อัน...อบกลิ่นแล้ว
  27. พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
  28. วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
  29. วาสิต : กิต. อบแล้ว
  30. วิธูเปติ : ก. ปรุง, พัด, อบควัน, รมควัน
  31. โสจ : (นปุ.) การอบ, การชำระ, ความสะอาด. สุจฺ โสจเน (สุทฺเธ), โณ.
  32. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  33. องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
  34. อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
  35. อนุวาสน : นป. ๑. น้ำหอม ; ๒. การอบให้หอม
  36. อนุวาเสติ : ก. ทำให้หอม, อบให้หอม
  37. อมตฺต : (นปุ.) ภาชนะ, ภาชนะสามัญ.วิ.อมติกาลนฺตรํปวตฺตตึติอมตฺตํ. อมฺ คติยํ, อตฺโต.
  38. อมฺภ : (ปุ.) หิน, ก้อนหิน, ศิลา. อมฺ คติยํ, โภ.อภิวาสทฺเท, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  39. อมรา : (อิต.) ปลาไหล. อมฺ คติยํ, อโร
  40. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  41. อุจฺฉาทน : (นปุ.) เครื่องอบ. อุปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, ยุ.
  42. อุปวาเสติ : ก. อบ, รม (ด้วยกลิ่น)
  43. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  44. โอมก : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย, เลว, ทราม, เลว ทราม, ลามก, เล็ก. อมฺ นินฺทายํ, โณ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง อ ปัจ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  45. 1-50 | [51-95]

(0.0336 sec)