Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มุ , then มุ, มู .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มุ, 96 found, display 51-96
  1. มุฏฺฐ : (ปุ. อิต.) กำ, กำมือ. มุ พนฺธเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ. แปลว่า ด้าม ก็มี.
  2. มูต : (ปุ.) กลุ่ม, ก้อน. มุ พนฺธเน, โต, ทีโฆ.
  3. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  4. โอปาร : (นปุ.) ฝั่งนี้. อิม+ปาร แปลง อิม เป็น อุ แปลง อุ เป็น โอ. ฝั่งโน้น. อมุ+ปาร ลบ มุ แปลง อ เป็น โอ.
  5. มูสา : (ปุ.) หนู วิ. มุสติ เถเนตีติ มูสิโก. มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ, อิตฺตญฺจ, ณิโก วา, ทีโฆ จ.
  6. กามุ : (วิ.) ผู้ใคร่โดยปกติ วิ. กาเมติ สีเลนาติ กามุโก. ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามุโก. กมฺ กนฺติยํ, ณุโก.
  7. กุมุ : (ปุ.) กุมุทะ ชื่อช้างประจำทิศตะวันตก เฉียงใต้ วิ. กยํ ปฐวิยํ โมทตีติ กุมุโท. กุปุพฺโพ, มุท. หาเส, อ. อถิฯ ลง ณ ปัจ. ส. กุมุท.
  8. ขีรมุ : (วิ.) มีปากเป็นไปด้วยกลิ่นแห่ง น้ำนม, มีปากยังไม่หมดกลิ่นน้ำนม, มีปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม. วิ. ขีรคนฺธิกํ มุขํ ยสฺส โส ขีรมุโข.
  9. ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
  10. ติมิ : (ปุ.) ติมิ ชื่อปลาใหญ่, ปลาติมิ. วิ. ติมฺยตี ติ ติมิ. ติมุ อทฺทภาเว กํขายํ วา, อิ. ส. ติมิ ว่า ปลาวาฬ ปลาใหญ่ในนิยาย.
  11. ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
  12. ติมิส : (นปุ.) ความมืด, มืด, บอด, หมอก.ติมุ กํขายํ เตมเน วา, อิโส.
  13. เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
  14. ทฺวิป ทฺวิรท : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กเรน มุเขน จาติ ทฺวีหิ ปิวตีติ ทวิโป. ทฺวิปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. เทฺวา รทา ยสฺส โส ทฺวิรโท. ส. ทฺวิป, ทฺวิรท, ทฺวิราป.
  15. ทุมุข ทุมฺมุ : (วิ.) มีปากอันโทษประทุษร้าย แล้ว, มีปากชั่ว, มีปากร้าย (ปากมาก). วิ. ทุ นินฺทิตํ วิรูปํ วา มุข ยสฺส โส ทุมุโข ทุมํมุโข วา.
  16. นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
  17. นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
  18. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  19. พฺรหฺมทตฺติย : (วิ.) อันพรหมใช้แล้ว วิ. พฺรหฺมุนา ทินฺโน พฺรหฺมทตฺติโย. ทินฺนสทฺท- สฺส ทตฺติยภาโว.
  20. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  21. มนฺต : (ปุ.) มนต์, มนตร์ (คำสำหรับสวด คำสำหรับเสกเป่า), มันตะ ชื่อของพระเวท, พระเวท. วิ. มุนาติ ธมฺมํ อเนนาติ มนฺโต. มุนฺ ญาเณ, โต, อุสฺส อตฺตํ.
  22. มโหทธิ : (ปุ.) ประเทศทรงไว้ซึ่งน้ำมาก, ทะเลใหญ่, มหาสมุทร. วิ. มโหทกํ ทธาตีติ มโหทธิ. มหนฺตํ มุทกํ ธียติ เอตฺถาติ มโหทธิ. อิ ปัจ.
  23. มุขผุลฺล : (นปุ.) เครื่องประดับหน้า วิ. มุเข ผุลฺลตีติ มุขผุลฺลํ. ผุลฺลฺ วิกสเน, อ.
  24. มุขฺย : (วิ.) ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. มุข มิวาติ มุโขฺย. อิวตฺเถ โย.
  25. มุญฺช : (ปุ.) ปลาค้าว. มุชิ มุญฺชฺ วา สทฺเท, อ. หญ้าปล้อง. รูปฯ.
  26. มุรช : (ปุ.) ตะโพน วิ. มุรา อฺสุรา ชาโต มุรโช.
  27. โมเนยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งมุนี วิ. มุนิสฺส ภาโว โมเนยฺยํ. เณยฺย ปัจ. ภาวตัท.
  28. รติ : (อิต.) ความยินดี, ความรื่นรมย์, การร่วมสังวาส, เมถุน. รมุ รมเณ, ติ มุโลโป.
  29. สมฺมุขวินย : (ปุ.) สัมมุขาวินัย ชื่อวิธีระงับอธิกรณ์อย่างที่ ๑ ใน ๗ อย่าง.
  30. สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชนี : (อิต.) ไม้กวาด, ไม้กราด. วิ. วสมฺมุญฺชติ เอตายาติ สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชน วา. สํปุพฺโพ, มุชิ โสธเน, ยุ, อิตุถิยํ อี.
  31. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  32. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  33. สุมุ : (วิ.) ผู้มีหน้างาม วิ. สุนฺทรํ มุขํ อสฺสาติ สุมุโข.
  34. อติตุณฺฑิก : (ปุ.) หมองู. วิ. อหิโนตุณฺเฑน มุเขนทิพฺพตีติอหิตุณฺฑิโก. อิกปัจ. เป็น อหิคุณฺ-ฑิกบ้าง.
  35. อนภิรทฺธิ : (อิต.) ความขึ้งเคียด, ความจำนงภัย, ความปองร้าย.วิ.ปรสมฺปตฺตีสุ นาภิรมตีติอนภิรทฺธิ.นอภิปุพฺโพ, รมุรมเณ, ติ.แปลงติเป็นทฺธิลบมุ.
  36. อปรเสล : (ปุ.) ภูเขาข้างทิศปัจฉิม.วิ. ปุพฺพเสลมุปาทายอปรเสโล.อปรสฺมึทิสาภาเคเสโลวาอปรเสโล.
  37. อพฺภ : (นปุ.) กลางหาว.วิ.นภมตีติอพฺภํ.นปุพฺโพ, ภมุอนาวฏฺฐาเน, กฺวิ, มุโลโป, พฺสํโยโค
  38. อวนฺติอวนฺตี : (อิต.) อวันตีชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ของอินเดียโบราณเมืองหลวงชื่ออุชเชนี.วิ. น วมนฺตีติอวนฺติ.นปุพฺโพ, วมุอุคฺคิรเณ, ติ, มสฺสนตฺตํ.อวตีติวาอวนฺติอวนฺตีวา.อวฺรกฺขเณ, นฺโต, อิตฺถิยํอี.ส.อวนฺติอวนฺติกาอวนฺตี.
  39. อวิรต : (วิ.) เที่ยง, ทุกเมื่อ, สะดวก, เนือง ๆ, เป็นนิตย์.นวิรมตีติอวิรตํ.นวิปุพฺโพ, รฺมุรมเณ, โต.
  40. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  41. อาจม : (ปุ. นปุ.?) สิ่งที่ควรล้าง, สิ่งที่ควรชำระ, ขี้.อาจมุ โธวเน, อ.ส.อาจม.
  42. อาจริย : (ปุ.) อาจารย์ วิ. สิสฺสานํหิตมาจรตีติอาจริโย.อนฺเตวาสิกานํหิตํมุเขนอาจรติปวตฺตตีติวาอาจริโย (ผู้ประพฤติเอื้อเฟื้อแก่ศิษย์).อาทิโตปฏฺฐายจริตพฺโพอุปฎฺ-ฐาตพฺโพติ วาอาจริโย (ผู้อันศิษย์พึงบำรุงตั้งแต่แรก).อาทเรนจริตพฺโพติ วาอาจริโย(ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ). อาปุพฺโพ, จรฺจรเณอุปฏฺฐาเน วา, โย, อิอาคโม.แปรเป็นอาเจรบ้าง. รูปฯ๖๓๘.ส.อาจรฺย.
  43. อารติ : (อิต.) การงด, การเว้น, การงดเว้น, การเลิก, การหยุด, ความงด, ฯลฯ.วิ.ทูรโตวิรมณํอารติ.อาปุพฺโพ, รมุอุปรมเน, ติ, มุโลโป.ส.อารติ.
  44. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  45. มูลฺย : (นปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ, รางวัล. วิ. มูเลน สมฺมิตํ มูลฺยํ. ณฺย ปัจ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ วา, โย.
  46. 1-50 | [51-96]

(0.0146 sec)