Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 451-500
  1. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  2. ทุสฺส : (นปุ.) ผ้า ( สิ่งที่ทำด้วยเยื่อไม้ ท.) วิ. ทุรูปํ อสตีติ ทุสฺสํ ทุรูปปุพฺโพ. อสฺ เขปเน, โส. ทุรูปํ อสตีติ วา ทุสฺสํ. อสฺ ทิตฺติยํ, โส. หรือ ลง อ ปัจ. ซ้อน สฺ หรือ ทุ คมเน. ส ปัจ. แปลงเป็น สฺส. อภิฯ และฎีกา.
  3. เทยฺย : (วิ.) อัน...พึงให้, อัน...ควรให้, พึงให้, ควรให้. วิ. ทาตพฺพนติ เทยฺยํ. อัน...ได้ให้ แล้ว. อัน...ย่อมให้, อัน...จักให้ง วิ. อทียิตฺถ ทียติ ทิยิสฺสตี วาติ เทยฺยํ. ทา ทาเน, ณฺย. แปลง ณฺย กับ อา ที ทา เป็น เอยฺย. รูปฯ ๕๔๐.
  4. เทวานมินฺท : (วิ.) ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา ท.
  5. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  6. ธาน : (นปุ.) ท่อน, กอง. ทานฺ อวขณฺฑเน, อ. ทสฺส โธ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ทา ทาเน, ยุ.
  7. นชฺโช : (อิต.) แม่น้ำ ท. นทีศัพท์ โยวิภัติ แปลง อี เป็น ย รวมเป็น นทฺย แปลง ทฺย เป็น ช แปลง ช เป็น ชฺช หรือแปลง ทฺย เป็น ช ซ้อน ชฺ หรือแปลง ทฺย เป็น ชฺช แปลงโยเป็น โอ เป็นการต่อศัพท์กับวิภัติ รูปฯ ๑๘๘.
  8. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  9. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  10. ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)
  11. ปทาน : (นปุ.) การให้, การเพิ่มให้. ป+ทา+ยุ ปัจ.
  12. ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  13. ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  14. พลิพทฺท พลิวทฺท : (ปุ.) โคมีกำลังอันเจริญ, โคใช้งาน, โคถึก (เปลี่ยว หนุ่ม), โคผู้เนื่องแล้วด้วยกำลัง, โคผู้. วิ. พลํ วทฺธยตีติ พลิวทฺโท พลิพทฺโท วา. พลปุพฺโพ, วทฺธฺ วฑฺฒนปูรเณสุ, อ. แปลง ธ เป็น ท.
  15. พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
  16. ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
  17. เภณฺฑิ : (อิต.) ฉมวก ชื่อเครื่องมือสำหรับแทงปลาเป็นต้น ทำเป็น ๓ ง่ามบ้าง ๕ ง่ามบ้าง ปลายง่ามแหลมและมีเงี่ยงเหมือนเบ็ดมีด้ามยาว. ภิทิ วิทารเณ, อิ. แปลง ท เป็น ฑ นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ แปลง อิ ที่ ภิ เป็น เอ.
  18. มทฺทว : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ณ ปัจ. ภาวทัต. ความอ่อน, ความอ่อน โยน. ณ อัจ. สกัด วิ. มุทุโน ภาโว มทฺทวํ. เอา อุ ที่ มุ เป็น อ เอา อุ ที่ ทุ เป็น อว แปลง ท เป็น ทฺท.
  19. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  20. มหากนฺต มหากนฺท : (ปุ.) กระเทียม. ปลณฺฑกนฺทโต มหนฺตกนฺทตาย มหากนฺโท. ศัพท์ต้น แปลง ท เป็น ต.
  21. มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
  22. มุคฺคร : (นปุ.) ค้อน, ไม้ค้อน, ตะบอง. วิ. มุทํ คีรตีติ มุคฺคโร. มุทปุพฺโพ, คิรฺ นิคฺคิรเณ, อ. แปลง ท เป็น ค อิ เป็น อ. มุจฺ โมจเน วา, อโร. แปลง จฺ เป็น คฺ ซ้อน คฺ.
  23. เมรย : (นปุ.) น้ำดอง, น้ำเมา, เมรัย คือ น้ำดองที่ยังไม่ได้กลั่น. วิ. มทํ ชเนตีติ เมรยํ. ณฺย ปัจ. แปลง อ ที่ ม เป็น เอ ท เป็น ร.
  24. สมฺปฏิจฺฉน : (นปุ.) การรับพร้อม, การรับ, การตอบรับ, การรับคำ, การรับอารมณ์. สํ ปฏปุพฺโพ, ฉทฺสํวรเณ, อ. แปลง ท เป็น น.
  25. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  26. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  27. อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
  28. อนาปุจฺฉา : (อิต.) การไม่มอบหมายอุ.เสนา สนํอนาปุจฺฉาปกฺกมนฺติภิกษุท. ไม่มอบหมายเสนาสนะหลีกไป.การไม่บอกลาอุ.อนาปุจฺฉาวิกาเลคามํปริเสยฺยนฺติ.ภิกษุ ท. ไม่บอกลาเข้าไปบ้านในเวลาวิกาล
  29. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  30. อิทิ : (วิ.) มีปกติบูชา วิ. ยชสีโล อิทิ. ลบ สึล แปลง ย เป็น อิ ช เป็น ท อิ ปัจ.
  31. อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
  32. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  33. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  34. อุฑุ : (นปุ.) น้ำ. อุทิ ปสวนกฺลทเนสุ, อุ. แปลง ท เป็น ฑ. ส. อุฑุ.
  35. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  36. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  37. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  38. อุมาต อุมฺมาต : (ปุ.) คนบ้า. อุปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. แปลง ท เป็น ต.
  39. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  40. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  41. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  42. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  43. กกุฏ : (ปุ.) นกพิราบ, นกเขา. กุกฺ อาทาเน, อโฏ, อุสฺสตฺตํ, อสฺสุตฺตญฺจ (แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ และแปลง อ ที่ ก เป็น อุ).
  44. กชฺชล : (นปุ.) ยาตา, ยาทาตา (ยาหยอดแก้ โรค ยาหยอดทำให้ตาเยิ้ม). วิ. กชฺชติ โรคนฺติ กชฺชลํ. กชฺช พฺยถเน, อโล.
  45. กฏาห : (นปุ.) กะโหลก, กระทะ, อ่าง, กระเบื้อง. ฆฏิกฏาเหน ปิณฺฑาย จรนฺติ. ภิกษุท. ใช้กระเบื้อง หม้อบิณฑบาต. ไตร. ๗/๕๒. ส. กฏาห.
  46. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  47. กฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
  48. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  49. กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
  50. กทมฺพ : (ปุ.) กระทุ่ม ชื่อต้นไม้มีหลายอย่าง วิ. กํ วาตํ ทเมตีติ กทมฺโพ. กปุพฺโพ, ทมฺ อุปสเม, โพ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0707 sec)