Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 501-550
  1. กทมฺพก : (นปุ.) หมวด, ฯลฯ. วิ. กทํ อวยวํ อาททาตีติ กทมฺพกํ. กทปุพฺโพ. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ.
  2. กทริย : (วิ.) ผู้มีความตระหนี่อันกระด้าง, ผู้ ตระหนี่, ผู้ดีเลว. วิ. ปรานุปโภเคน อตฺถสญจยสีลตฺตา กุจฺฉิโต อริโย อตฺถปติ กทริโย. อทายกตฺตา กุจฺฉิตํ ฐานํ อรตีติ วา กทริโย. กุปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อิโย, กุสฺส กทอาเทโส.
  3. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  4. กปฺปก : (ปุ.) ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวดกัน เครา, ช่างตัดผมโกนหนวด, กัลบก. วิ. กปฺปติ เกเส ฉินฺทตีติ กปฺปโก. กปฺปฺ เฉทเน, ณฺวุ. ส. กลฺปก.
  5. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  6. กปิญฺชล : ป. นกกะทา, นกป่า
  7. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  8. กมฺมญฺญ : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมญฺญํ. ณฺยปัจ. ลบ อิ ที่ นิ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลงเป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง ญ เป็น ญฺญ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. ส. กรฺมฺมณฺย.
  9. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  10. กฺริย : (นปุ.) การอันสัตบุรุษควรทำ (ได้แก่ ทานศีลและภาวนา) วิ. สปฺปุริเสหิ กตฺตพฺพนฺติ กฺริยํ. กรฺ กรเณ, โณย. ลบ อ ที่ ก อิ อาคม.
  11. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  12. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  13. กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
  14. กลลมกฺขิต : ค. ซึ่งทาด้วยโคลนหรือตม, เปื้อนแล้วด้วยเปือกตม
  15. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  16. กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
  17. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  18. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  19. กาเวรี : (อิต.) กาเวรี กเวรี ชื่อแม่น้ำสาย ๑ ใน ๕ สายของอินเดีย วิ. นานาคาหา กุลีภูตตาย กุจฺฉิตํ เวร มสฺสาติ กาเวรี. แม่น้ำ ๕ สายคือ จันทราคา สวัสวดี เนรัญชรา กาเวรี และนัมมทา แม่น้ำ ๕ สายอีกอย่าง ๑ ดู อจิรวตี.
  20. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  21. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  22. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  23. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  24. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  25. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  26. กิลาสุ : (วิ.) เกียจคร้าน. กุจฺฉิตปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, ณุ, ลบ จฺฉิต แล้วแปลง อุ ที่ กุ เป็น อิ.
  27. กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
  28. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  29. กุกฺกุฏ : (ปุ.) ไก่, ไก่ป่า, ไม้รังไก่, ปีระกา. วิ. กุ กุฏตีติ กุกฺกุโฏ. กุปุพฺโพ, กุฏฺ เฉทเน, อ. กุกฺ อาทาเน วา, อุโฏ. กุกติ โคจรํ อาททาตีติ วา กุกฺกุโฏ. ส. กุกฺกุฏ.
  30. กุกฺกุร : (ปุ.) หมา, ลูกหมา, ปีจอ. วิ. กุกติ สสาทโย อาททาตีติ กุกฺกุโร. กุก อาทาเน, อุโร. ส. กุกฺกุร กุกุร.
  31. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  32. กุฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ (นา สวน เป็นต้น) กุฏมฺ วตฺตเน, โพ, อสฺส (แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ).
  33. กุณฺฑลี : (ปุ.) งู. กุณฑฺ ทาเห, ลิ, ทีโฆ. กุณฑลิกา
  34. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  35. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  36. กุรุวินฺทก : ป. จุดสำหรับอาบ, แป้งผัดหน้าทาตัวหลังจากอาบน้ำแล้ว
  37. กุลาปี : (ปุ.) นกยูง. กลาปีศัพท์แปลง อ ที่ ก เป็น อุ.
  38. เกทาร : (นปุ.) ทุ่ง, นา, นาดอน, ลาน, สนาม. วิ. กฺลทียตีติ เกทารํ กฺลิทฺ กฺลทฺ วา อลฺลภาเว, อาโร, ลฺโลโป. เก ชเล ลสติ ทาโร วิทารณ มสฺสาติ วา เกทารํ. เก ปฐวิยํ ทายกสฺสทาฬนํ เอตฺถาติ วา เกทารํ. เก+ทาฬน ลบ น แปลง ฬ เป็น ร เป็น อลุตตสมาส.
  39. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  40. โกนฺต : (ปุ.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, อ. แปลง อ ที่ ก เป็น โอ. ดู กุนฺตนี ด้วย.
  41. โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
  42. โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
  43. โกสุมฺภ : (นปุ.) ผ้าย้อมด้วยดอกคำ วิ. กุสุมฺเภน รตฺตํ โกสุมภํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  44. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  45. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
  46. ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
  47. ขย : (ปุ.) ที่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, เรือน, แผ่นดิน, กษิติ กษีดิ (แผ่นดิน). ขี ขเย, นิวาเส วา, อ.
  48. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  49. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  50. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0633 sec)