Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 651-700
  1. ทฺวาปญฺญาส : (ไตรลิงค์) ห้าสิบสอง. ทฺวิ+ปญฺญาส แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๙๗.
  2. ทฺวิตา : (อิต.) ความที่แห่ง....นั้นเป็นของสอง เท่า, ความเป็นของสองเท่า. ทฺวิ+ตา ปัจ. ภาวตัท.
  3. ทฺวิปท : (นปุ.) เท้าสอง, สองเท้า. วิ. เทฺว ปทานิ ทฺวิปทํ ทฺวิปทานิ วา.
  4. ทฺวิปท ทฺวิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง, มีสองเท้า. วิ. เทฺว ปทา ปทานิ วา ปาทา วา ยสฺส โส ทฺวิปโท ทฺวิปาโท วา. ส. ทฺวิปท.
  5. ทฺวิรตฺต : (นปุ.) ราตรีสอง, สองราตรี. วิ. เทฺว รตฺติโย ทฺวิรตฺตํ. เอา อิ ที่ ติ เป็น อ รูปฯ ๓๓๔.
  6. ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
  7. ทสม : (วิ.) ที่สิบ วิ. ทสนฺนํ ปูรโณ ทสโม. ทส+ม ปัจ. ส. ทศม.
  8. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  9. ทสฺสิก : ค. ดู ทสิก
  10. ทาฐาวุธ ทาฒาวุธ : (ปุ.) สัตวืมีเขี้ยวเป็นอาวุธ, งู. วิ. ทาฐา ทาฒา วา ตสฺส อาวุโธ ติ ทาฐาวุโธ ทามาวุโธ วา.
  11. ทานเวยฺยาวฏิก : ค. ดู ทานพฺยาวฏ
  12. ทาร : (ปุ.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. วิ. ทารยนฺเต อเนนาติ ทาโร (ทำลาย หรือแบ่งความทุกข์ของสามี). ทรฺ วิทารเณ, โณ. อภิฯ. รูปฯ ๕๖๓ วิ. ทรียติ อเนนาติทาโร ส.ทาร.
  13. ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
  14. ทาฬิม, ทาฑิม : ป., นป. ดู ทาลิม
  15. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  16. ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
  17. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  18. ทุทฺทท : (วิ.) อัน...ถวายได้โดยยาก, อันให้ได้โดยยาก. ทุกฺข+ทท ลบ กฺข ซ้อน ทฺ
  19. ทุรตฺต : (นปุ.) ราตรีสอง, สองราตรี. วิ. เทฺว รตฺติโย ทุรตฺตํ. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ อิ ที่ รตฺติ เป็น อ รูปฯ ๓๙๔.
  20. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  21. เทผ : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, คำกล่าว, การรบ, การนินทา, คำนินทา, คำติเตียน, การเบียดเบียน, การถือเอา. ทิผฺ กถนยุทฺธ- นินฺทาหึสาทาเนสุ, โณ.
  22. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  23. เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
  24. เทวทารุ, - รุก : ป. ไม้เทพทาโร
  25. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  26. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  27. ธชวนฺตุ ธชาลุ : (วิ.) มีธง, มีธงมาก (ศัพท์ ที่ ๒).
  28. ธนกิต ธนกฺกีต : (ปุ.) ทาสที่ถ่ายมาด้วยทรัพย์, ทาสที่ซื้อมาด้วยทรัพย์. วิ ธเนน กีโต ธนกีโต. ธนํ ทตฺวา ทาสภาวํ กโรตีติ วา ธนกีโต. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  29. ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
  30. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  31. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  32. นขเลขา : (อิต.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, รอยเล็บ, การเขียนที่เล็บ, การทาเล็บ.
  33. นงฺคุฏฺฐ : (นปุ.) หาง, หางม้า. วิ. น องฺคตีติ นงฺดุฏฺฐ. นปุพฺโพ, องฺคฺ ดมเน. อภิฯ ลง ฏฺฐปัจ. ฏีกาอภิฯ และรูปฯ ลง ฐ ปัจ. ซ้อน ฎฺ แปลง อ ที่ ค เป็น อุ.
  34. นจฺจคีตวาทิตาทิรติปฺปเภท : (วิ.) มีความยินดี ในการเล่นมีการฟ้อนและการขับและการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท. เป็น ฉ. ตุล. มี ส. ทวัน., ฉ. ตุล. และ สงตัป. เป็นท้อง.
  35. นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
  36. นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
  37. นหานจุณฺณ : นป. จุณสำหรับอาบน้ำ, เครื่องลูบไล้, เครื่องทา, ผงสำหรับถูตัวเวลาอาบน้ำ
  38. นหุต : (นปุ.) หมื่น (๑๐ พัน). นหฺ พนฺธเน, โต, อ อาคม เป็น นห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ.
  39. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  40. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  41. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  42. นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
  43. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  44. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  45. นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
  46. นิทฺทาสีลี : ค. ดู นิทฺทาลุ
  47. นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
  48. นิพฺยคฺฆ : ค. (ที่) ปราศจากเสือ, ไม่มีเสือ
  49. นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
  50. นิมฺมานรตี : (อิต.) นิมมานรตี ชื่อสวรรค์ชั้น ที่ ๕, เทวดาผู้ยินดีในการเนรมิต วิ. นิมฺมาเน รติ เอเตสนฺติ นิมฺมานรตี.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | [651-700] | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0550 sec)