Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 751-800
  1. ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.
  2. ภิสก ภิสกฺก ภิสช : (ปุ.) แพทย์, อายุรแพทย์, หมอ. วิปฺพฺโพ, สชฺ วิสชฺชะน, อ. แปลง วิ เป็น ภิ ศัพท์ ที่ ๑ แปลง ช เป็น ก ที่ ๒ แปลง ก เป็น กฺก แปลว่า ศัลยแพทย์ ก็มี.
  3. มกฺขณ : นป. การทา; การเจิม
  4. มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
  5. มกฺขิต : อิต. ทาแล้ว, เจิมแล้ว
  6. มกฺเขติ : ก. ทา, เจิม, ถู, เช็ด
  7. มกร : (ปุ.) มังกร ชื่อสัตว์ในนิยายของจีน มีรูปร่างคล้ายงู แต่มีตีนมีเขา ชื่อดาวราสีที่ ๑๐. วิ. ปาณิคฺคหเณ มุขํ กิรตีติ มกโร. มุขปพฺโพ, กิรฺ วิกิรเณ, อ. ลบ ย แปลง อุ เป็น อ อิ ที่ กิ เป็น อ. เป็น มงฺกร บ้าง.
  8. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  9. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  10. มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
  11. มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
  12. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  13. มนุสฺสชาติย : (วิ.) ผู้เกิดแล้วโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติมนุษย์. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  14. มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
  15. มาคธ : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในแว่นแคว้นมคธ, ผู้อยู่ในแว่นแคว้นมคธ, ผู้เป็นอิสระในแว่นแคว้นมคธ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  16. มาฆ : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยดาวฤกษ์ชื่อมฆา, เดือนมาฆะ, เดือน ๓, ภุมภาพันธ์, เดือนกุมภาพันธ์. วิ. มฆาย ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส มาโฆ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  17. มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
  18. มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
  19. มาท : (ปุ.) ความเมา, ความจองหอง. มทฺ อุมฺทาเท, โณ.
  20. มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
  21. มาหิส : (วิ.) นี้ของกระบือ วิ. มหิสสฺส อิทํ มาหิสํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  22. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  23. มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
  24. มุขรชน : (นปุ.) สีทาปาก, ลิปสติก.
  25. มุขวิเลปน : (นปุ.) เครื่องทาหน้า, เครื่องไล้หน้า.
  26. มุงฺคุส : (ปุ.) พังพอน. มงฺคฺ คติยํ, อุโส. แปลง อ ที่ ม เป็น อุ.
  27. มุสิก : (ปุ.) หนู, มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ แปลง ณฺวุ เป็น อก อ+สฺ เป็น ส แปลง อ ที่ ส เป็น อิ. ดู มูสิก.
  28. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  29. มูสล : (ปุ. นปุ.) แปลและธาตุเหมือน มุสล ต่างแต่ทีฆะ อุ ที่ มุ เป็น อู.
  30. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  31. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  32. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  33. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  34. ยทตฺถ : (วิ.) เพื่อประโยชน์แก่สิ่งใด วิ. ยสฺส อตฺถาย ยทตฺโถ ยทตฺถา วา ยทตฺถํ วา. ย+อตฺถ ทฺ อาคม จ. ตัป.
  35. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  36. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  37. ยิฏฺฐ : (นปุ.) การบูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, โต แปลง ต เป็น ฏฺฐ แปลง อ ที่ ย เป็น อิ ลบที่สุดธาตุ.
  38. รงฺคชีว : ป. ผู้ย้อม, ผู้ทา
  39. รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
  40. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  41. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  42. ลิตฺต : ค. ไล้, ทาแล้ว, ฉาบแล้ว
  43. ลิมฺปน : นป. การฉาบทา, การไล้
  44. เลป : ป., เลปน นป. การฉาบทา, การไล้
  45. เลเปติ : ก. ฉาบทา, ไล้
  46. วาสจุณฺณ : นป. จุณ, น้ำหอมสำหรับทาอาบ
  47. วิลิมฺปติ : ก. ลูบไล้, ฉาบทา
  48. วิเลปน : นป. การลูบไล้, เครื่องทา
  49. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  50. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0640 sec)