Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 801-850
  1. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  2. สมฺมทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์โดยชอบ, เนื้อความโดยชอบ, อรรถโดยชอบ. วิ. สมฺมา อตฺโถ สมฺมทตฺโถ. รัสสะ อา เป็น อ ทฺ อาคม. ต. ตัป.
  3. สมาทาน : (วิ.) ผู้ถือเอาพร้อม, ผู้ถือเอาด้วยดี, วิ. สํ สฏฐุ อาทายตีติ สมาทาโน.
  4. สมุทีรณ : นป. ดู สมุทาหรณ
  5. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  6. สฺวปฺป : (วิ.) ประมาณน้อย, พอประมาณ. สุฎฐุ+อปฺป ลบ ฎฐุ แปลง อุ ที่ สุ เป็น ว.
  7. สสฺสติ : (อิต.) ความเที่ยง, ฯลฯ. วิ. สทา สรนฺติ คจฺฉนฺตีติ สสฺสติ. สทาปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, ติ.
  8. สาตจฺจ : (วิ.) ติดต่อโดยรอบ, เป็นไปติดต่อ, เป็นไปติดต่อกัน, เป็นไปไม่ว่างเว้น, เป็นไปไม่ขาดสาย, เป็นไปเป็นนิตย์, เป็นนิตย์, เที่ยง, เนือง, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ทุกเมื่อ. สตต+ณฺย ปัจ. สกัด แปลง ตฺย เป็น จฺจ ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  9. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
  10. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  11. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  12. สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
  13. สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
  14. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  15. สิทฺธ : (วิ.) เสร็จ, สำเร็จ, สัมฤทธิ์, ให้ผลเป็นนิตย์, สิทฺธ สํสิทฺธิยํ, อ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ วา, โต. แปลง ต เป็น ธ แปลงที่สุดธาตุเป็น ทฺ รูปฯ ๕๙๘.
  16. สินฺธุ : (ปุ.) ห้วงน้ำ, ทะเล, ประเทศสินธุ. สนฺทฺ ปสเว, อุ, แปลง อ เป็น อิ และแปลง ทฺ เป็น ธฺ. ส. สินธุ.
  17. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  18. สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
  19. สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
  20. สีวล สีวิย : (วิ.) มีความงาม, ฯลฯ. สิว+ล, อิย ปัจ. ทีฆะ อิ ที่ สิ เป็น อี โมคฯ ณาทีภัณฑ์ ๕๘.
  21. สุคต : (ปุ.) พระผู้ดำเนินไปดี พระผู้ดำเนินไปงาน วิ. สุนฺทโร คโต สุคโต. พระผู้ตรัสดี วิ. สุฏฐ คทตีติ สุคโต. สุฏฐปุพฺโพ, คทฺวิยตฺติยํ วาจายํ, อ, ทสฺส โต. พระผู้ทรงบรรลุฐานะอันงาน วิ. สุนฺทรํ ฐานํ คจฺฉตีติ สุคโต. พระผู้ทรงบรรลุพระนิพพานอันงาม วิ. สุนฺทรํ นิพฺพานํ คจฺฉตีติ สุคโต. คมฺคติยํ, โต, มโลโป. พระผู้เสด็จมาดี วิ. สมฺมา อาคโต สุคโต. ลบมฺมาและอา แปลง อ ที่ ส เป็น อุ. พระสุคต พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทรงนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. ส.สุคต.
  22. สุคนฺธิ : (ไตรลิงค์) ของหอม, สุนฺทร + คนฺธ แปลง อ ที่ ธ เป็น อิ อภิฯ. ส.สุคนฺธิ.
  23. สุจิร : (วิ.) มีความผ่องใส, ฯลฯ. ร ปัจ. ตทัสสัตทิตัท.
  24. สุชมฺปติ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นพระสวามีของนางสุชา, ท้าวสุชัมบดี ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สุชาย อสุรกญฺญาย ปติ สุชมฺปติ. รัสสะ อา ที่ ชา ลงนิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
  25. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  26. สุตฺตนฺติก : (วิ.) ผู้เรียนพระสูตร, ผู้รู้พระสูตร. วิ. สุตฺตนฺตํ อธิเตติ สุตฺตนฺติโก. ณิก ปัจ. ตรัตยทิตัท.
  27. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  28. สุทุทฺทส : (นปุ.) สุทุททสะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปสฺสิตํ ุ สุทุกฺกรตาย สุททุทฺทสํ. สุ ทุ ปุพฺโพ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. แปลง อิ ที่ ทิ เป็น อ ซ้อน ทุ.
  29. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  30. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  31. สุสาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนแห่งศพ, ป่าช้า. วิ. ฉวสฺส สยนฎฺฐานํ สุสานํ. ฉวสฺส สุ, สยนสฺส สาโน. หรือลบ ย แปลง อ ที่ ส เป็น อา.
  32. โสคต : (วิ.) มีพระสุคตเป็นเทวดา วิ. สุคโต อสฺส เทวตาติ โสคโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  33. โสณฺณ : (นปุ.) ทอง, ทองคำ, สุปุพฺโพ, สุฎฐุปุพฺโพ วา, อิณฺ คติยํ ทิตฺติยญฺจ, โณ, อุสฺโส (แปลง อุ ที่ สุ เป็น โอ). อโลโป, ทฺวิตฺตํ.
  34. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  35. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  36. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  37. โสวิทลฺล : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนแก่. วิ. โสกํ วินฺทตีติ โสวิทลฺโล. โสกปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, โล, กโลโป.
  38. โสวีร : (นปุ.) น้ำส้ม. วิ. สุวีรรฎฺเฐ ภวํ โสวีรํ, ณ ปัจ, ราคาทิตัท.
  39. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  40. หริจนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทร์เหลือง, จันทร์เทศ. วิ. หริ มณฺฑูโก, ตทากาเร ปพฺพเต ชาตํ จนฺทนํ หริจนฺทนํ.
  41. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  42. หาลิทฺท : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยขมิ้น, ย้อมด้วยขมิ้น. วิ. หฺลิทฺทาย รตฺตํ หาลิทฺทํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. มีสีเหลือง วิ. หลิทฺโท. อสฺส อตฺถีติ หาลิทฺทํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  43. หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
  44. หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
  45. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  46. อกฺขิอญฺชน : (นปุ.) ยาหยอดตา, ยาทาตา.
  47. อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
  48. องฺคราค : ป. การทาตัว, น้ำมันทาตัว
  49. องฺคุฏฺ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ. หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ. อคฺคปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบ คฺ สังโยค เอานิคคหิตเป็น งฺ). องฺคฺ คมเน วา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค. ลง ก สกัดเป็น องฺ คุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
  50. องฺคุลิยก,- เลยฺยก, องฺคุลฺยาภรณ : นป. ดู องฺคุลิมุทฺทา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0646 sec)