Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โกรธแค้น, โกรธ, แค้น , then กรธ, โกรธ, โกรธแค้น, โกรธา, คน, แค้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โกรธแค้น, 979 found, display 751-800
  1. สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
  2. สปาก, (โสปาก) : ป. คนจัณฑาล
  3. สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
  4. สพฺภิ : ค. คนดี
  5. สภฺย : (ปุ.) คนมีตระกูล, คนผู้เข้าประชุม. วิ. สภายํ สาธุ สโภฺย. ย ปัจ. ลบ อา.
  6. สภาย : (นปุ.) ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมคน, สภา. วิ. สนฺเตหิ ภาตีติ สภายํ. สนฺตปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โย, สนฺตสฺส สตฺตํ.
  7. สโภชน : ๑. นป. การกินร่วมกัน; ๒. ค. มีคนอยู่ด้วยกันสองคนคือผัวกับเมีย
  8. สมฺผปฺปลาปี : (ปุ.) คนผู้กล่าวคำเพ้อเจ้อ, คนพูดเพ้อเจ้อ.
  9. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  10. สรณคฺคณฺฑิ : (อิต.?) คนที่เขมา.
  11. สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
  12. สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
  13. สหจร : (ปุ.) คนเที่ยวร่วมกัน, คนเที่ยวไปด้วยกัน, คนไปด้วยกัน (ผู้ร่วมทาง), เพื่อน, สหาย, การไปร่วมกัน, การเที่ยวไปร่วมกัน, ฯลฯ. ส. สหจร.
  14. สากฎิก : (ปุ.) คนขับเกวียน. วิ. สกเฎน จรตีติ สากฎิโก.
  15. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  16. สาธุชน : (ปุ.) คนดี, คนที่เป็นสัมมาทิฏฐิ.
  17. สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
  18. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  19. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  20. สิปฺปิก : ป. คนมีศิลปะ
  21. สิปฺปี : ค. คนมีศิลป
  22. สีปที : (ปุ.) คนเท้าปุก, คนเท้าทู่. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  23. สุกริก : (ปุ.) คนผู้ฆ่าสุกรเป็นอยู่, พรานหมู. วิ. สูกเร หนฺตฺวา ชีวตีติ สูกริโก. ณิก ปัจ.
  24. สุชน : (ปุ.) คนดี, คนประพฤติดี.
  25. สุญฺญวจ : (ปุ.) คนใบ้ วิ. สุญฺโญ วโจ ยสฺส โส สุญฺญวโจ.
  26. สุติหีน : (ปุ.) คนหูเสีย, คนหนวก. วิ. สุติ กณฺโณ หีโน วิกโล ยสฺส โส สุติหีโน.
  27. สุทฺท : (ปุ.) คนเพศต่ำช้า, สุททชน, ศูทร คนวรรณะที่ ๔ ในวรรณะ ๔. สทฺ สาตเน, โท, อสฺสุ. สุทติ สามิเกหิ ภตึ มคฺฆรตีติ สุทฺโท. สุท. ปคฺฆรเณ. ส. ศุทร.
  28. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  29. สุปฺปพุทธฺ : (ปุ.) สุปปพุทธะ พระนามเจ้าโกลิยวงศ์องค์หนึ่ง, ชื่อคน.
  30. สุปุริส : (ปุ.) บุรุษดี, คนดี. สุนฺทร+ปุริส.
  31. สุมติ : อิต. ความคิดดี, คนฉลาด
  32. สุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ชื่อบัวชนิดหนึ่ง, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ในวรรณคดี, มะลิ, มะลิซ้อน, สุมนา ชื่อคนผู้หญิง.
  33. สุเมธ : (ปุ.) คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์, สุเมธะ ชื่อฤาษีตนหนึ่ง, พระสุเมธะ พระนามของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง.
  34. สุราปาน : (ปุ.) คนดื่มสุรา, นักเลงเหล้า, นักเลงสุรา.
  35. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  36. สุวณฺณการ : ป. คนทำทอง
  37. สุหท สุหทย : (ปุ.) คนมีใจดี, คนใจดี, มิตร, สหาย.
  38. สูกริก : ป. คนฆ่าหมู
  39. สูต : (ปุ.) สูตชน คือคนที่เกิดแต่กษัตริย์กับนางพราหมณีชื่อสูตะ. สุ อภิสเว, โต, ทีโฆ.
  40. สูท : (ปุ.) คนผู้หลั่งออกซึ่งรส, คนผู้ยังรสให้หลั่งออก. สุ ปคฺฆรเรณ, โท, ทีโฆ. อถวา, สุทฺ สูทฺ วา ปคฺฆรเณ, อ. คนผู้ยังขาทนียะ และโภชนียะให้สุก, คนผู้ยังอาหารให้สุก, คนครัว, พ่อครัว. สุ. พฺยนฺตีกรเณ, โท.
  41. สูทก : (ปุ.) คนครัว, พ่อครัว. วิ. สูเทตีติ สูทโก. สูทฺ ปคฺฆรเณ, ณฺวุ. วา สูโร. สุ ปสเว, โร. สูรฺ วิกฺกนฺติยํ, วา, อ. รูปฯ ๖๖๔ สุ หึสายํ, อูโร. ส. สูร.
  42. เสฎฺฐ : (ปุ.) คนผู้มีสิ่งอันบุคคลปรารถนา, คนมีทรัพย์, เศรษฐี. วิ. เสฎฺฐํ อสฺส อตฺถีติ เสฎฺฐ. อี ปัจ.
  43. เสฏฺฐิ, - ฐี : ป. เศรษฐี, คนมีเงิน
  44. เสณิ : (ปุ.) หมู่คนมีศิลปะมีชาดเสมอกัน วิ. สชาตีนํ เตสํ สิปฺปีนํ สํฆาโต เสณิ. สิ เสวายํ, ณิ. คง ณ ไว้.
  45. โสณฺฑิก : (ปุ.) คนขายเหล้า, คนขายสุรา วิ. สุณฺฑํ วิกฺกิณาตีติ โสณฺฑิโก. ณิก ปัจ.
  46. โสปาก : ป. คนวรรณะต่ำ, คนจัณฑาล; ผู้ปรุงให้ดีขึ้น
  47. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  48. โสวิทลฺล : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนแก่. วิ. โสกํ วินฺทตีติ โสวิทลฺโล. โสกปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, โล, กโลโป.
  49. โสหชฺช : (ปุ.) คนใจดี. สุหทโย เอว โสหชฺโช.
  50. หตฺถิโคปก หตถิป หตฺถิบาล : (ปุ.) คนผู้รักษาช้าง, คนเลี้ยงช้าง, ควาญช้าง, นายควาญช้าง. คุปฺ รกฺขเณ, โณ, สตฺเถ โก. ปา ปาลฺ วา รกฺขเณ, โณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0539 sec)