Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โกรธแค้น, โกรธ, แค้น , then กรธ, โกรธ, โกรธแค้น, โกรธา, คน, แค้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โกรธแค้น, 979 found, display 851-900
  1. อนุธมฺมจารี : (ปุ.) คนผู้มีอันประพฤติซึ่งธรรมอันสมควร, ฯลฯ.
  2. อนุปฺปิยภาณี : (ปุ.) คนช่างพูดประจบสอพลอ.
  3. อนุปสมฺปนฺน : (วิ.) มิใช่คนอุปสมบทแล้ว, มิใช่ผู้อุปสมบทแล้ว (มิใช่ภิกษุ-ภิกษณี).
  4. อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
  5. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  6. อปกตญฺญู : ค. อกตัญญู, ผู้ไม่รู้จักบุญคุณที่คนอื่นทำแก่ตน
  7. อปฺเปกจฺจ : ค. บางคน, บางพวก, บางหมู่
  8. อปราชิต : ค. อันคนอื่นชนะไม่ได้แล้ว
  9. อปราธี : (ปุ.) อาชญากร, คนทำความผิด.
  10. อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
  11. อพฺภาคต : ค. แขก, คนแปลกหน้า, ผู้มาถึงแล้ว
  12. อภิชฺฌาลุ : (ปุ.) คนโลภมาก, คนมีอภิชฌามาก.
  13. อภิชาตอภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตรชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่าตระกูล).
  14. อภิชาต อภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตร ชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่า ตระกูล).
  15. อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
  16. อภูตวาที : ป. คนพูดไม่จริง
  17. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  18. อยุตฺตอยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย.คือคนที่เก็บของจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  19. อยุตฺต อยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย. คือคนที่เก็บของ จากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  20. อรณิก : (ปุ.) ตะบันไฟชื่อเครื่องมือทำให้เกิดไฟอย่างหนึ่งของโบราณรูปคล้ายตะบันหมากของคนแก่.
  21. อริยุปวาทก : (ปุ.) คนผู้เข้าไปว่าพระอริยะ.
  22. อเร : (อัพ. นิบาต) เว้ย, โว้ย, แน่ะคนอะไร, แน่ะคนร้าย, แน่ะหญิงร้าย, พ่อเฮ้ย.
  23. อลกฺขิก : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนไม่ดี, คนอัป-ปรีย์, คนไม่มีสิริเป็นเครื่องหมาย, คนไม่มีบุญ.
  24. อลสาฏก : (ปุ.) อลังสาฏกะชื่อคนที่บริโภคมากจนไม่สามารถจะนุ่งห่มผ้าสาฏกได้.
  25. อลาลา : อ. ไม่พูดว่าลาลา, ไม่พูดอืออาเหมือนคนใบ้
  26. อลิกวาที : (ปุ.) คนผู้มีปกติกล่าวคำเหลาะแหละ, ฯลฯ.
  27. อวจรก (โอจรก) : ค. นักสอดแนม, จารบุรุษ, คนที่มีนิสัยชั่ว
  28. อวช : ป. คนโหด, คนถ่อย, คนป่า
  29. อวนท : (ปุ.) คนผู้ให้การรักษา, หมอ, แพทย์.
  30. อวสฏ, โอสฏ : ค. ผู้ละออก, ผู้ผละหนี, คนที่เข้ารีดศาสนาอื่น
  31. อวสล : ค. คนชั่ว, คนถ่อย
  32. อวิจกฺขณ : (ปุ.) คนไม่มีความเห็นแจ้ง, คนพาล.
  33. อวิทูอวิทสุ : (ปุ.) คนไม่รู้แจ้ง, คนเขลา, คนโง่, คนพาล.น+วิทฺ+รูปัจ.ศัพท์หลังสุปัจ.
  34. อสนฺต : ค. ไม่มีอยู่ ; ไม่สงบ, ไม่ระงับ, คนชั่ว
  35. อสปฺปุริส : ป. อสัตบุรุษ, คนเลว, คนไม่สงบ
  36. อสพฺภี : ป. ไม่ใช่สัตบุรุษ, คนชั่วช้า, คนทุจริต
  37. อสฺสโคปก : ป. คนเลี้ยงม้า, คนดูแลม้า, อัศวรักษ์
  38. อสฺสโคปกอสฺสโปสก : (ปุ.) คนเลี้ยงม้า.
  39. อสฺสทมก : ป. คนฝึกม้า, ผู้ฝึกม้า
  40. อสฺสพนฺธ : ป. คนเลี้ยงม้า, อัศวรักษ์
  41. อสฺสาณีกอสฺสานึก : (ปุ.) อัสสาณีกะ, อัสสานี-กะ, ม้าตัวหนึ่งมีคนสำหรับม้าสามคนชื่ออัสสาณีกะ, กองพลม้า.เป็นอสฺสาณิกอสฺสานิกบ้าง.ส.อศฺวานีก.
  42. อสาธุ : (ปุ.) ความไม่ดี, คนไม่ดี.ส.อสาธุ.
  43. อหิคาห : ป. คนจับงู, คนฝึกงู
  44. อหิคุณฺฐิก : ป. คนจับงู, หมองู
  45. อหิตุณฺฑิก : ป. หมองู, คนจับงู
  46. อหิริก : (ปุ.) คนหมดความละอาย, คนหมดความละออายใจ, คนหมดความขยะแขยงในการทำทุจริตต่าง ๆ, สภาพที่ไม่ละอายแก่อกุศลทุจริต.
  47. อเหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
  48. อฬจฺฉินฺน : (ปุ.) คนเล็บด้วน.
  49. อาขนิก : ป. โจร; หนู; หมู; จอบ; เสียม; คนขุดแร่
  50. อาคนฺตุ : (ไตรลิงค์) แขก(คนผู้มาหา).วิ.อา-คจฺฉตีติอาคนฺตุ.อาปุพฺโพ, คมฺคมเน, ตุ.แปลงมฺเป็นนฺ.ส.อาคานฺตุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-979

(0.0556 sec)