Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเป้า, เป้า, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเป้า, เบ้า, ปา, เป้, เป้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเป้า, 987 found, display 201-250
  1. โอสรติ : ก. เข้ามาสู่, กลับเข้ามาหาหมู่, มาประชุม
  2. โอสารณ : (นปุ.) การประชุม, การรวมลง, การเรียกเข้าหมู่.
  3. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  4. โอสาเรติ : ก. บรรจุเข้าตำแหน่งเดิม, เรียกเข้าหมู่ ; อธิบาย, ชี้แจง, นำมาพิจารณา
  5. โอสิต : กิต. อาศัยอยู่แล้ว, เข้าถึงแล้ว
  6. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  7. ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
  8. ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ; ๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
  9. ขาริ ขารี : (อิต.) ขารี ชื่อมาตราตวง ๔ มาณิ- กาเป็น ๑ ขารี วิ. จตุสฺสนฺนํ มาณิกานํ สฺมูโห ขารี นาม. แปลว่า สาแหรก ก็มี.
  10. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  11. ปาจี : ค. ดู ปาจก
  12. ปาเจติ : ก. ดู ปาจาเปติ
  13. ปาชิตุ : ป. ดู ปาชิก
  14. ปาโททร : ป. ดู ปาทูทร
  15. ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
  16. ปานียมาลก : นป. ดู ปานมณฺฑล
  17. ปาปกรณ : นป. ดู ปาปกมฺม
  18. ปาโมชฺช : นป. ดู ปามุชฺช
  19. ปายี : ค. ดู ปายก
  20. ปาริม : ค. อันมีในฝั่งโน้น (มักใช้ในรูปสมาสว่า ปาริมตีร = ฝั่งโน้น)
  21. ปาเรวต : ป. ดู ปาราปต
  22. อภิปาเตติ : ก. ให้ตกไป, ขว้าง, ปา
  23. ขาตุตหุ : นป. คู, คลอง
  24. ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
  25. ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
  26. ขาทา : อิต. อาหาร
  27. ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
  28. ขาทาเปติ : ก. ให้เคี้ยวกิน, ป้อน
  29. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  30. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  31. ขาทิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การเคี้ยวกิน, เพื่อเคี้ยวกิน
  32. ขานิก : (นปุ.) โพรง, รู, ช่อง, ปล่อง.
  33. ขารก : (ปุ.) ดอกไม้เพิ่งผลิ, ดอกไม้เพิ่งจะ แตกออก. ขรฺ วินาเส, ณฺวุ.
  34. ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
  35. ขาริกาช, ขาริวิธ : ป., นป. สาแหรก, เครื่องหาบบริขารของพวกดาบส
  36. ขาริ, ขารี : อิต. มาตราตวงเท่ากับ ๓ มาณิกา
  37. ขาริภาร : (ปุ.) เครื่องหาบ.
  38. ขาโรทก : (นปุ.) น้ำด่าง.
  39. ปาการ : ป. ป้อม, ปราการ, กำแพง
  40. ปาการปริกฺขิตฺต : ค. ซึ่งมีกำแพงล้อมรอบ
  41. ปาการปริกฺเขป : ป. การล้อมด้วยกำแพง, รั้ว
  42. ปาการิฏฺฐิกา : อิต. อิฐที่ก่อกำแพง
  43. ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
  44. ปากุล : ค. อากูล, คั่งค้าง, ไม่สำเร็จ, ยุ่งเหยิง
  45. ปาคุญฺญตา : อิต. ความชำนาญ, ความฉลาด
  46. ปาคุส : ป. ปลาชนิดหนึ่งตัวใหญ่ปากใหญ่
  47. ปาจก : ค. ผู้หุงต้ม, ผู้ปรุงอาหาร
  48. ปาจน : นป. การหุงต้ม, การปรุงอาหาร; ปฏัก, ไม้เท้า
  49. ปาจริย : ป. อาจารย์ของอาจารย์, อาจารย์ผู้ใหญ่, ปรมาจารย์
  50. ปาจาเปติ : ค. ให้หุงต้ม, ให้ปรุงอาหาร
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0461 sec)