Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเป้า, เป้า, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเป้า, เบ้า, ปา, เป้, เป้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเป้า, 987 found, display 351-400
  1. ปาลิคุณฺฐิม : ค. พัวพัน, ปกคลุม, หุ้มห่อ
  2. ปาลิจฺจ : นป. ผมหงอก
  3. ปาลิต : ค. อันเขาคุ้มครองรักษาแล้ว
  4. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  5. ปาลิภทฺทก : ป. ไม้ทองหลาง, ไม้ทองกวาว
  6. ปาลิวณฺณนา : อิต. อรรถกถาบาลี, คำอธิบายพระไตรปิฎก
  7. ปาเลติ : ก. เฝ้ารักษา, เลี้ยงดู, คุ้มครอง
  8. ปาเลตุ : ป. ดู ปาลก
  9. ปาวน : นป. การฝัด (แกลบเป็นต้น)
  10. ปาวา : อิต. เมืองหลวงของแคว้นมัลละ; เสื้อคลุม; ต้นมะม่วง
  11. ปาวาริก : ป. คนขายผ้า
  12. ปาวาฬ : ป. ผม
  13. ปาสก : ๑. นป. ดู ปาส๒. ป. ลูกเต๋า, ลูกบาศก์, คะแนน, คานประตู
  14. ปาสาณคุฬ : ป. ก้อนหินกลมๆ เกลี้ยงเกลาสำหรับถูตัว
  15. ปาสาณปิฏฺฐิ : อิต. หลังแผ่นหิน, หินดาน
  16. ปาสาณโปกฺขรณี : อิต. ชาตสระ, ที่ขังน้ำซึ่งเกิดเอง
  17. ปาสาณมจฺฉก : ป. ปลากา, ปลาสลาด, แมวน้ำ
  18. ปาสาณวสฺส : นป. ฝนหิน, ฝนที่เป็นหิน (ซึ่งอาฬวกยักษ์บันดาลให้ตกลงมาเพื่อทำร้ายพระโคตมพุทธ)
  19. ปาสาณสกฺขรา : อิต. ก้อนกรวด
  20. ปาสาท : ป. ปราสาท, ราชวัง, คฤหาสน์, เทวาลัย, เรือนสี่เหลี่ยม
  21. ปาสาทตล : นป. พื้นปราสาท
  22. ปาสาทิก : ค. น่ารัก, น่าเลื่อมใส, น่าพอใจ
  23. ปาสิก : ค. มีบ่วง, เนื่องด้วยบ่วง, ซึ่งติดบ่วง
  24. ปาสุก, ปาสุฬ : ป. ซี่โครง, โครงร่าง
  25. ปาหุน : ค. เพียงพอ
  26. ปาเหติ : ก. ให้ส่งไป
  27. รตฺตปา : (อิต.) ปลิง วิ. รตฺตํ รุธิรํ ปิวตีติ รตฺตปา. รตฺตปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ.
  28. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  29. อมตปา : (อิต.) อมตปะชื่อของเทวดา, เทวดา.วิ.อมตํปิวนฺตีติอมตปา.อมต+ปา+ณปัจ.
  30. อริ : (ปุ.) ข้าศึก. ศัตรู.วิ. อรติปจฺจตฺถิกภาวนฺติอริ.อรฺคมเน, อิ.อถวา.อรฺนาเส, อิ.อปฺปโกรูปาทิปญฺจกามคุณสํขาโต โร กาโมเอเตนาติอริ.อริที่มาคู่กับปุญฺญแปลว่าอริว่าปาบ.ส.อริ.
  31. อาหจฺจปาท : (ปุ.) เตียงมีขาจรดแม่แคร่. วิ. อฏนิยํ อาหจฺโจ ยสฺส ปาโท อาหจฺจปาโท. อาหจฺจ วา ปาโท ติฏฺฐติ ยสฺเสติ อาหจฺจปา โท. อาหจฺจ ของ วิ. หลัง เป็นศัพท์ กิริยากิตก์ ตูนาทิปัจ.
  32. กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
  33. กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
  34. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาลย ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  35. กุลปาลิกา : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, ลูกสาว- ผู้เชื่อฟัง, ลูกสาวผู้ปฏิบัติตามธรรมของ ตระกูล, ลูกสาวผู้รักษาตระกูล. วิ. กุลํ ปาเลตีติ กุลปาลิกา. กุลสทฺทุปฺปทํ, ปาลฺ รกฺขเณ, ณฺวุ, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  36. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  37. จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
  38. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  39. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  40. ตสฺสปาปิยสิกา ตสฺสปาปิยฺยสิกา : (อิต.) ตัสสปาปิยสิกา ชื่อวิธีระงับอาบัติอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง
  41. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  42. เทวขาตก : (นปุ.) เหมืองน้อย วิ. เทเวน ขาตํ เทวขาตกํ (เทวดาขุด เนรมิต). ก สดัด. ส. เทวขาต.
  43. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  44. ปวิชฺฌติ : ก. ขว้าง, ปา, แทง, ยิง
  45. พฺรหฺมปาริสชฺช : (ปุ.) พรหมปาริสัช ชื่อ พรหมชั้นที่ ๑ ใน ๒๐ ชั้น.
  46. มุขาธาน : (นปุ.) บังเหียน, บังเหียนม้า. วิ. มุขํ อติฏฺฐตีติ มุขาธานํ. มุข+อา+ฐา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  47. รูปารมฺมณ : นป. รูปารมณ์
  48. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  49. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  50. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0632 sec)