Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเป้า, เป้า, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเป้า, เบ้า, ปา, เป้, เป้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเป้า, 987 found, display 401-450
  1. อนุกมฺปา : (อิต.) ความไหวตาม, ฯลฯ.วิ.อนุปุนปฺปุนํกมฺเปติอตฺตาธารสฺสจิตฺตนฺติอนุกมฺปา.อนุปุพฺโพ, กมฺปฺ จลเน, อ, อิตฺถิ-ยํอา.ส.อนุกมฺปา.
  2. อนุปาทาย : กิต. ดู อนุปาทา
  3. อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
  4. อนุปารมฺภน : ค. ดู อนุปารมฺภ
  5. อปาจิอปาจี : (อิต.) ทิศใต้วิ.มชฺเฌมหิยํอณฺจติยสฺสํทิสายํรวิสาอปาจิอปาจีวา.ส. อาปจฺอปาจีอปาจีนฺ
  6. อปาจิ อปาจี : (อิต.) ทิศใต้ วิ. มชฺเฌ มหิยํ อณฺจติ ยสฺสํ ทิสายํ รวิ สา อปาจิ อปาจี วา. ส. อาปจฺ อปาจี อปาจีนฺ
  7. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  8. อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
  9. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  10. อุกฺขลิ อุกฺขา อุขา : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง. วิ. อุสตีติ อุกฺขลิ. อุสฺ ทาเห, อิ, สสฺส ขลาเทโส, กฺสํโยโค. คำที่ ๒, ๓ ตั้ง อุขฺ คมเน, อ. คำที่ ๒ ซ้อน กฺ. ส. อุขา.
  11. อุปจฺฉูภติ : ก. ขว้าง, ปา, เหวี่ยง, โยน
  12. อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
  13. อุปาทานิย : (วิ.) เกื้อกูลแก่อุปาทาน. วิ. อุปาทานานํ หิตํ อุปาทานิยํ. อิย ปัจ.
  14. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  15. อุปารมฺภ : ป., อุปารมฺภน นป. คำตำหนิ, คำคัดค้าน
  16. อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
  17. อุปาสิกา : (อิต.) หญิงผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, หญิงผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสิกา (หญิงผู้นับถือพระพุทธศาสนา). ส. อุปาสิกา.
  18. อุปาหนา : อิต. ดู อุปาหน
  19. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  20. โอปปาติก : (วิ.) ผูดเกิดขึ้นดุจลอยมาเกิด, ผู้ลอยมาเกิด. วิ. อณฺฑชลาพุสํเสเทหิวินา อุปติตฺวา วิย นิพฺพตฺตาติ โอปปาติกา.
  21. โอปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ประกอบในอุบาย. วิ. อุปาเยน อุปาเย วา นิยุตฺโตติ โอปายิโก. ชอบด้วยอุบาย วิ. อุปาเยน อนุจฺฉวิโกติ โอปายิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  22. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  23. กงฺขา : อิต. ดู กงฺขนา
  24. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  25. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  26. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  27. กฏจฺฉุภิกฺขา : อิต. ภิกษาทัพพีหนึ่ง, ข้าวทัพพีหนึ่ง
  28. กตปาปกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอัน ทำแล้ว, ผู้มีกรรมคือบาปอันทำแล้ว.
  29. กตุปาสน : ค. ผู้ชำนาญในการยิงลูกศร, นายขมังธนู
  30. กปฺปาตีต : ค. ผู้ล่วงกัป (พระอรหันต์)
  31. กปฺปาสมย : ค. ผู้สำเร็จด้วยฝ้าย, ทำด้วยฝ้าย
  32. กปฺปาสอฏฐิ : นป. เมล็ดฝ้าย
  33. กปฺปาสี : อิต. ต้นฝ้าย
  34. กสปาติ, - ปาตี : อิต. ถาดหรือภาชนะสัมฤทธิ์
  35. กายปาคุญฺญตา : อิต. ความคล่องแคล่วของกาย, ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
  36. กายปาคุญฺญ ตา : (อิต.) ความคล่องแคล่วแห่งกาย, ความแคล่วคล่องแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด. กายปุญฺฉน
  37. กิมกฺขายี : ค. ผู้มีปกติกล่าวว่าอย่างไร
  38. กึอกฺขายี : ค. มีปกติกล่าวว่าอย่างไร, หรืออะไร, ผู้มักถาม
  39. กุฏณฺฑปาทก : (ปุ.) คนเท้าปุก.
  40. กุณฺฑกขาทก : ค. ผู้กินรำข้าว (เป็นอาหาร)
  41. กุณปาท กุณปาทก : (วิ.) ผู้กินซากศพ. กุณ ป ปุพฺโพ, อทฺ ภกฺขเณ, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  42. กุลงฺกปาทก : ป. กรอบเชิงฝา
  43. เกทารปาลิ : (อิต.) เส้นเขตนา.
  44. ขฏขาทก : ป. ถ้วยแก้ว; สุนัขจิ้งจอก; กา
  45. คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
  46. โครกฺขา : อิต. การเลี้ยงโค, การรักษาแผ่นดิน, การรักษานา
  47. จตุปฺปาทก, - ทิก : ค. (คาถา) มีสี่บาท
  48. จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
  49. จิตฺตุปาหน : นป. รองเท้าอันวิจิตร, รองเท้ามีสีกาววาว
  50. จิตปาตลี : (ปุ.) แคฝอย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0641 sec)