Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเป้า, เป้า, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเป้า, เบ้า, ปา, เป้, เป้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเป้า, 987 found, display 51-100
  1. นทีทุคฺค : นป. สถานที่ซึ่งเข้าไม่ถึงเพราะมีน้ำ, การหยั่งไปยากในแม่น้ำ, หล่ม
  2. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  3. นิกฺกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  4. นิกฺกุชฺเชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  5. นิกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
  6. นิคฺคจฺฉติ : ก. ออกไป, จากไป, เดินตามไป, ตรงไปยัง, เข้าถึง
  7. นิคจฺฉติ : ก. เข้าไป, เข้าถึง, มาถึง, ผ่านไป, บรรลุ
  8. นิคมคาถา : (อิต.) นิคมคาถา คือคำประพันธ์ ที่กล่าวย่อ คำเดิมให้สั้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้า ใจง่าย.
  9. นิปาตี : ค. ซึ่งตก, ซึ่งล้ม, อันเร่เข้าใส่, ซึ่งเข้านอน
  10. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  11. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  12. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  13. นิโยชน : (นปุ.) การส่งไป, การส่งเสริม, การประกอบเข้า, การรวมเข้า, การสั่ง, การสั่งให้ทำ. ยุ ปัจ. ส. นิโยชน.
  14. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  15. เนตฺติก : ค. ผู้ทดน้ำ, ผู้ทดน้ำเข้านา
  16. ปฏิวามคต : อ. (ลูกศรเข้าทางขวา) ทะลุซ้าย
  17. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  18. ปพฺพวาตโรค : (ปุ.) โรคลมเข้าข้อ.
  19. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  20. ปริสาวจร : ค. ผู้เข้าสมาคม
  21. ปสชติ : ก. สละ, ปล่อย, ผลิต, ติดเข้าด้วย
  22. ปิณฺฑุกฺเขปก : นป. การโยนคำข้าวเข้าปาก
  23. ปิณฺเฑติ : ก. ทำให้เป็นก้อน, รวมกันเข้า, ผสมกัน
  24. ปิย : ค. อันเป็นที่รัก, อันเป็นที่พอใจ, เข้ากันได้
  25. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  26. พฺยามปฺปภาปริกฺขิต : (วิ.) อันแวดล้อมแล้วด้วยรัศมีมีวาหนึ่งเป็นประมาณ. หนึ่งเป็นคำเหน็บเข้ามา.
  27. พฺรหฺมปรายน : ค. มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีเหตุอันจะต้องเข้าถึงความเป็นพรหม
  28. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  29. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  30. โภคฺค : (นปุ.) ของควรกิน, ของควรบริโภค, ของอันเขาได้กินแล้ว, ของอันเขาย่อมกิน, ของอันเข้าจักกิน. วิ. อภุชฺชิตฺถ ภุชฺชติ ภุชฺชิสฺสตีติ โภคฺคํ. ภุชฺ อชฺโฌหรเณ, โณฺย รูปฯ ๕๔๐.
  31. มถติ : ก. ย่ำยี, คนให้เข้ากัน, รบกวน
  32. วฺยาปิต : กิต. เข้าแทรกแซง, ปะปน
  33. วิปกฺขเสวก : ค. ผู้เข้าข้างศัตรู
  34. เวสมฺม : นป. ความไม่เสมอกัน, ความไม่เข้ากัน
  35. สณฺฐปน : นป. การจัดให้เข้ารูป, การตั้งขึ้น
  36. สนฺทหน : นป. การรวมกันเข้า
  37. สภฺย : (ปุ.) คนมีตระกูล, คนผู้เข้าประชุม. วิ. สภายํ สาธุ สโภฺย. ย ปัจ. ลบ อา.
  38. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  39. สมฺปิณฺเฑติ : ก. ประมวล, ปั้นให้กลม, ย่อเข้า
  40. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  41. สมฺมิญฺชิต : (นปุ.) การคู้เข้า. สํปุพฺโพ, อิญฺชฺ กมฺปเน, โต, อิอาคโม.
  42. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  43. สมาปชฺชติ : ก. ย่อมเข้าถึง
  44. สมาปชฺชน : นป. การเข้าถึง
  45. สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  46. สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  47. สมาปนฺน : กิต. เข้าถึงแล้ว
  48. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  49. สมุปฺปชฺชติ : ก. เกิดขึ้น, เข้าถึง
  50. สมุเปติ : ก. เข้าถึง
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0668 sec)