Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเป้า, เป้า, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเป้า, เบ้า, ปา, เป้, เป้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเป้า, 987 found, display 751-800
  1. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  2. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  3. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  4. คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
  5. คาห : (วิ.) จับ,กุม,ยึด,ถือ. คหฺ อุปาทาเน,โณ.ผู้จับ วิ. คณ.หาตีติ คาโห.กวน,รับกวน,ทำให้ ปั่นป่วน. คาหุ วิโลลเน, อ.
  6. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  7. โคปก โคปาล โคปิล : (ปุ.) คนเลี้ยงสัตว์, คนเลี้ยงโค, นายโคบาล. วิ. คาโว ปาเลตีติ โคปาโล. ศัพท์ต้น โคบทหน้า ปาลฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ศัพท์ที่สอง ปาลฺ ธาตุ ณ ปัจ. ศัพท์ที่สาม ปาธาตุ อิล ปัจ.
  8. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  9. โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
  10. ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
  11. ฆาน : (นปุ.) จมูก วิ. ฆายติ คนฺโธปาทานํ กโรตีติ ฆานํ. ฆายนฺติ อเนนาติ วา ฆานํ. ฆา คนฺโธปาทาเน, ยุ.
  12. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  13. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  14. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  15. จมฺเปยฺย : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, มะม่วง, ต้นมะม่วง. วิ. ปฐมกาเล จมฺปา- นคเร ชาตตฺตา จมฺเปยฺโย เอยฺยปัจ.
  16. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  17. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  18. ชฐ : (ปุ.) ท้อง, พุง, ขอด, ปม. ชนฺ ปาตุภาเว, โฐ, นฺโลโป.
  19. ชณฺณุ : นป., ชณฺณุกา อิต. เข่า
  20. ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
  21. ชนฺนุ ชนฺนุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. ดู ชณฺณุ.
  22. ชางฺฆณี : (อิต.) ขา, ขาอ่อน. ส. ชางฺคนี.
  23. ชาณุ : ป. เข่า
  24. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  25. ชานุ, ชานุก : นป. เข่า
  26. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  27. ฐานาฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  28. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  29. ตจ : (ปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้. วิ. ตจติ สรีรํ ปาเลตีติ ตโจ. ตจฺ ปาลเน, อ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณ ปัจ.
  30. ตณฺฑุเลยฺย : (ปุ.) กระเพรา, มะพลับ. วิ. ตมียติ วิการ มาปาทียตีติ ตณฺฑุโล. ตณฺฑุลโต ชายตีติ ตณฺฑุเลยฺโย. เณยฺย ปัจ. เป็น ตณฺฑุลิย บ้าง.
  31. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  32. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  33. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  34. ตนุรุห : (นปุ.) ขน วิ. ตนุมฺหิ รูหตีติ ตนุรุหํ. ตนุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน ปาตุภาเว วา, อ.
  35. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  36. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  37. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  38. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  39. ตุสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความอยาก, ความกระหายน้ำ, ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อุตฺตํ.
  40. เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
  41. ถูลงฺค : ค. ผู้มีอวัยวะ (แขนขา) อ้วนใหญ่
  42. ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
  43. ทพฺภ : (ปุ.) หญ้าคา. ทุ ปริตาเป, อพฺโภ. แปลว่า ข่า ก็มี. เป็นทพฺภิ บ้าง.
  44. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  45. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  46. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  47. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  48. ทฺวิปท ทฺวิปาท : (วิ.) มีเท้าสอง, มีสองเท้า. วิ. เทฺว ปทา ปทานิ วา ปาทา วา ยสฺส โส ทฺวิปโท ทฺวิปาโท วา. ส. ทฺวิปท.
  49. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  50. ทห : (ปุ.) สระ (ที่ขังน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป้นเอง หรือคนขุด), บึง. วิ. อุทกํ ทธาตีติ ทโห. ทหฺ ธารเณ, อ. ทธฺ รเณวา, อ, ธสฺสโห.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0661 sec)