Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเป้า, เป้า, เข้า , then ขา, เข้, เข้า, เข้าเป้า, เบ้า, ปา, เป้, เป้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเป้า, 987 found, display 851-900
  1. พฺยปฺปนา : (อิต.) ความตริ, ความตรึก, วิตก, วปุพฺโพ, อปฺปฺ ปาปุณเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  2. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  3. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  4. พริหิติณ พริหิส : (นปุ.) หญ้าคา, ข่า. วรหฺ ปาธานิยปริภาสนหีสาทาเนสุ, อิโส.
  5. พริหิส : นป. หญ้าคา; ข่า
  6. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  7. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  8. พาหา : (อิต.) แขน วิ. วหติ เอตายาติ พาหา. วหฺ ปาปุณเน, โณ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  9. พาหุ : (ปุ. อิต.) แขน วิ. วหฺติ อเนนาติ วาหุ. วาหุ เอว พาหุ. วหฺ ปาปุณเน, ณุ. พาธติ อุปทฺทเวติ วา พาหุ. พาธ. วิพาธเน, ณุ, ธสฺส หตฺตํ.
  10. พินฺทุมตี : อิต. ชื่อของหญิงนครโสเภณีคนหนึ่งในเมืองปาตลีบุตร สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
  11. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  12. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  13. พุนฺทิกาพทฺธ : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่เนื่องเป็นอันเดียวกันกับขา.
  14. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  15. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  16. ภารวาห : (ปุ.) คนนำของหนักไป, คนผู้แบก, คนผู้หาบ. วิ. ภารํ วหตีติ ภารวาโห. ภารปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ.
  17. ภุช : (ปุ.) มือ, ข้อมือ, งวง, งวงช้าง. วิ. ภุญฺชเต อเนเนติ ภุโช. ภุชฺ ปาลนชฺ-โฌหรเณสุ, อ.
  18. ภูริ : (ปุ.) คนมีปัญญา, ฯลฯ, นักปราชญ์. วิ. ภูสงฺขาเต อตฺเถ รมตีติ ภูริ. ภูปุพฺโพ, รมฺ รมเณ, กฺวิ, อิ อาคโม.
  19. ภูรุห ภูรูห : (ปุ.) ต้นไม้. ภูปุ-พฺโพ, รุหฺ ปาตุ ภาเว, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  20. มญฺจาธาร : (ปุ.) ขาเตียง. มญฺจ+อาธาร.
  21. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  22. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  23. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  24. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  25. ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
  26. ยาตฺรา : (อิต.) การเลี้ยงชีวิต, การยังชีวิตให้เป็นไป, การไป, การเดิน, การเดินไป, การเดินทัพออกไปรบ, การยกทัพไปรบ. ยา ปาปุณเน, ตฺรณฺปจฺจโย. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  27. ยาน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องไป, วัตถุเป็นเครื่องถึง, วัตถุเป็นเครื่องนำไป, วัตถุสำหรับนำไป, เครื่องนำไป, การไป, การถึง, ยาน, ยวดยาน เช่น เรือ รถ เป็นต้น. วิ. ยาติ อเนนาติ ยานํ. ยา คติปาปุณเนสุ, ยุ.
  28. รช : (ปุ.) ระดูของหญิง, ประจำเดือนของหญิง, ระดู, ประจำเดือน. วิ. รติยา ชายตีติ รโช รติปุพฺโพ, ชนฺ, ปาตุภาเว, โร. ลบ ติ และ นฺ.
  29. วน : นป. ป่า
  30. วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
  31. วิปิน : นป. ป่า
  32. สก : (ปุ. นปุ.) ผัก (สำหรับทำกับข้าว). สา ปาเก, โก. ส. ศาก.
  33. สนฺธมติ : ก. เป่า, พัด
  34. สปจ : (ปุ.) คนจัณฑาล, คนดุร้าย, คนต่ำช้า, คนนอกเหล่า. วิ. สํ สุนขํ ปจตีติ สปโจ. สปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ.
  35. สปตฺต : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. วิ. ทุกฺข-เหตุตฺตา สปตฺตี อิวาติ สปตฺโต. สกาโร รกฺขเส, โส วิย รกฺขโส วิย อญฺญฺมฺฺญฺญํ อหิตาสุขํ ปาเปตีติ สปตฺโต.
  36. สมฺปาต : (ปุ.) ฝนตกหนัก, ห่าฝน. วิ. สํ อโธ ปตตีติ สมฺปาโต. สํปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ.
  37. สมฺมุขวินย : (ปุ.) สัมมุขาวินัย ชื่อวิธีระงับอธิกรณ์อย่างที่ ๑ ใน ๗ อย่าง.
  38. สรีรึ : (ปุ.) สัตว์ วิ. สรีรสํขาโต กาโย อสฺส อตฺถิ โส สรีรี. อี ปัจ.
  39. สลิลปฺปาย : (ปุ.) ที่มีน้ำมาก, ที่ชุ่มชื้น, ที่อันชุ่มชื้น. วิ. ปาโย พหุลํ สลิลํ เอตฺถาติ สลิลปฺปาโย พหูทกเทโส.
  40. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  41. สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
  42. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  43. สิกฺข : (ปุ.) ประชุมแห่งสิกาขา. สิกฺขา+ณ ปัจ. สมุหตัท.
  44. สิกฺขก : (วิ.) ผู้ศึกษา, ผู้เล่าเรียน. สิกฺข วิชฺโชปาทาเน, ณวุ.
  45. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  46. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  47. สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
  48. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  49. เสขิย : (วิ.) อัน...พึงศึกษา, อัน...ควรศึกษา, อัน...ควรใส่ใจ, อัน...พึงใส่ใจ. สิกฺขฺ วิชฺโช ปาทาเน, โณฺย. วิการ อิ เป็น เอ ลบ กฺ และ ณฺ อิ อาคม.
  50. เสท : (ปุ.) เหงื่อ, เหื่อ (ภาษาเก่า), ไคล(เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า). วิ. เสตีติ เสโท. เส ปาเก, โต, ตสฺส โท. พ่อครัว ก็แปล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-987

(0.0629 sec)