Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กฏ , then กฏ, กษ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กฏ, 56 found, display 1-50
  1. กฏ : (ปุ. นปุ.) ไหล่ภูเขา, ลาดภูเขา, ทอง ปลายแขน, กำไลมือ. กฏฺ คติยํ, อ.
  2. ทุกฺกต, - กฏ : ค. ซึ่งทำไว้ไม่ดี, ซึ่งทำไว้ชั่ว
  3. กฏโกล : ป. กระโถน
  4. กฏสาร : ป. เสื่อกก, เสื่อหยาบ, เสื่อลำแพน
  5. กฏ : (อิต.) เอว, สะเอว, กะเอว, ตะโพก, สะโพก, ก้น, แท่ง. วิ. กฏฺยเต วตฺถาทีหี ติ กฏิ. กฏฺ สํวรเณ, อิ. ส. กฏิ.
  6. กฏกฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏ
  7. กีฏ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงสาบ, แมลง ต่าง ๆ, บุ้ง, ตั๊กแตน, กิฏฺ พนฺธนคมเนสุ, อ, ทีโฆ. ส. กีฏ.
  8. กุฏ : (ปุ.) ยอด, จะงอย (ปลายที่สุด). กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ.
  9. กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
  10. กุฏิ : (อิต.) เรือน, เรือนพระ, ที่อยู่ของพระ, กระท่อม, กระฏิ, กุฏิ, กุฏี. วิ. กุฏตีติ กุฏิ. กุฏฺ เฉทเน, อิ. เป็น กุฏี บ้าง. ส. กุฏิ.
  11. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  12. กูฏ ( : (ปุ. นปุ.) ค้อน (เครื่องมือสำหรับ เคาะ ตอก ตี ทุบ), พะเนินเหล็ก (ค้อนใหญ่). กุฏฺ หึสาเฉทเนสุ, โณ, อ วา. ส. กูฏ
  13. กฏ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
  14. กกฏ กงฺกฏ : (ปุ.) เกราะ, เสื้อเกราะ. กํก คมเน, อโฏ. ส. กงฺกฏ.
  15. กฏ : ค. แหลมคม, เข้มงวด, เผ็ดร้อน, รุนแรง, เจ็บแสบ
  16. กีฏ, กีฏก : ป. แมลง, ตั๊กแตน, ตัวมอด, ตัวชีผ้าขาว
  17. กุฏิ, - กา : อิต. กุฎี, กระท่อม, ที่อยู่ของพระ
  18. กุฏี : อิต. กระท่อม, ห้องเล็ก, เพิง
  19. กูฏ : (วิ.) เลว, โกง, ปลอม, เก๊, เท็จ, หลอก ลวง. กูฏ เฉทเน วา, อ. ทีโฆ.
  20. กฏ : (ปุ.) ธง. เกตุ ศัพท์แปลง ตุ เป็น ฏ.
  21. กฏ : ค. (ภูเขา) มียอด; ป้อม, ที่มั่น
  22. กฏ : ค. มีจุดหมาย, มีที่สุด
  23. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  24. อิกฺกฏ : (ปุ.) หญ้าปล้อง, อิจฺ สุติยํ, อโฏ. แปลง จ เป็น ก ซ้อน กฺ
  25. อุกฺกฏฐิต : กิต. กระสันแล้ว, กระวนกระวายแล้ว, เดือดพล่านแล้ว, ไม่พอใจแล้ว, อึดอัดแล้ว, อยากแล้ว
  26. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  27. อาณตฺติ : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, ข้อบังคับ, ข้อบังคับที่นัดหมายกันไว้, คำบังคัง, คำสั่ง, กฏ.อาณฺธาตุติปัจ.แปลงติเป็นตฺติ.ส. อาชฺญปฺติ.
  28. กกฺกฏ กกฺกฏ : (ปุ.) ปู (สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ) วิ. เก กฎตีติ กกฺกโฏ กกฺกฏโก วา. กปุพฺโพ, กฏฺ วสฺสาวรณคตีสุ, กุกฺ อาทาเน วา, อโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์หลังลง ก สกัด. ส. กรฺกฏ.
  29. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  30. กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
  31. กฏุกา : (อิต.) ข่า. กฏฺ วสฺสาวรณคตีสุ, อุ, สตฺเถ โก.
  32. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  33. กุกฺกุฏ : (ปุ.) ไก่, ไก่ป่า, ไม้รังไก่, ปีระกา. วิ. กุ กุฏตีติ กุกฺกุโฏ. กุปุพฺโพ, กุฏฺ เฉทเน, อ. กุกฺ อาทาเน วา, อุโฏ. กุกติ โคจรํ อาททาตีติ วา กุกฺกุโฏ. ส. กุกฺกุฏ.
  34. กุฏช : (ปุ.) ไม้มวกเหล็ก, ไม้มวก, อัญชันเขียว, ทุมแทง, มูกมัน, มูกหลวง. วิ. โรคํ กุฏตีติ กุฏโช. กุฏฺ เฉทเน, โช. กุฏชี (ปุ.?) ใบมวกเหล็ก, ฯลฯ.
  35. กุฏฏฺฐ   กุฏฏฏฺฐ : (วิ.) เสมอกัน, เนืองนิตย์, นิรันดร. กุฏฺ กุฏฺฏ เฉทเน, โฐ, ฏฺสํโยโค.
  36. กุฏฺฐ : (นปุ.) โกฐ ชื่อเครื่องยาจำพวกหนึ่งมี หลายชนิด วิ. กุยํ ปฐวิยํ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐํ. กุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ. กุฏฺ เฉทเน วา, โฐ, โต วา. ถ้าลง ต ปัจ. ก็แปลง ต เป็น ฐ.
  37. กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
  38. กฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  39. กฏ : (วิ.) ตี, ทุบ, เคาะ, ฯลฯ. กุฏฺ อาโกฏ- นาทีสุ, อ, สตฺเถ โก.
  40. กฏฺฏก : (วิ.) ผู้ตี, ผู้ตอก, ผู้ทุบ, ฯลฯ. กุฏฺ อาโกฏนาทีสุ, ณฺวุ. ซ้อน ฏฺ.
  41. กฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
  42. เทสธมฺม : (ปุ.) กฏหมายของประเทศ. ส. เทศธรฺม.
  43. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  44. พฺราหฺมณธมฺม : ป. ธรรมแห่งพราหมณ์, หน้าที่ของพราหมณ์, กฏของพวกพราหมณ์
  45. ภกุฏิ : (อิต.) สยิ้วหน้า. ปปุพฺโพ, กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ.
  46. ภฏ : (ปุ.) คนอันท่านเลี้ยง, คนที่เขาเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, พลรบ, นักรบ, อำมาตย์. กฏฺ ภตฺยํ, อ.
  47. ยุทฺธวินย : (ปุ.) ระเบียบแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ข้อบังคับแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, กฏแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  48. รฏฺฐมฺมนุญฺญ : (นปุ.) รัฐธรรมนูญ ชื่อกฏหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายอันเป็นที่พึงพอใจของประชาชนทั้งประเทศ ประชาชนทั้งประเทศอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนี้. รฏฺฐ+ธมฺม+มนุญฺญ ลบอักษรที่เสมอกันสามตัวเสียตัวหนึ่ง.
  49. อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
  50. อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
  51. [1-50] | 51-56

(0.0174 sec)