Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กณฺหปฏิปทา, ปฏิปทา, กณฺห , then กณห, กณฺห, กณหปฏปทา, กณฺหปฏิปทา, กณฺหา, ปฏปทา, ปฏิปทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กณฺหปฏิปทา, 28 found, display 1-28
  1. กณฺหปฏิปทา : อิต. ปฏิปทาอันเลวทราม, ทางที่ชั่ว
  2. ปฏิปทา : อิต. ปฏิปทา, ข้อปฏิบัติ, แนวทางความประพฤติ, ทางปฏิบัติ
  3. กณฺห : (วิ.) ชั่ว, ดำ, มืด, กฤษณะ (ดำ), เขียวคราม.
  4. กณฺหมคฺค : ป. ดู กณฺหปฏิปทา
  5. กณฺหตุณฺฑ : (ปุ.) สัตว์มีปากดำ, ชนี. วิ. กณฺหํ ตุณฺหํ มุขํ ยสฺส โส กณฺหตุณฺโฑ.
  6. กณฺหโคตมก : ป. งูเห่า
  7. กณฺหชิน : นป. หนังเสือดำ
  8. กณฺหธมฺม : ป. ธรรมดำ, ธรรมเลว, อกุศล
  9. กณฺหปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายดำ, ฝ่ายผิด.
  10. กณฺหปีต : (วิ.) น้ำตาลแก่, เหลืองหม่น (สี...).
  11. กณฺหภาวกร : ค. ซึ่งก่อให้เกิดสถานะเลว
  12. กณฺหวิปาก : ค. มีวิบากคือผลชั่ว
  13. กณฺหสีส : ค. มีศีรษะดำ, มีผมดำ
  14. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  15. มชฺฌิมาปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติอันมีในท่ามกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางคือมรรค (อริยมรรค) มีองค์ ๘.
  16. อริยวสปฏิปทาทิ : (วิ.) มีปฏิปทาอันเป็นไปตามซึ่งวงศ์แห่งพระอริยะเป็นต้น.
  17. โมเนยฺยปฏิปทา : (อิต.) ข้อปฏิบัติอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ความเป็นมุนี.
  18. อติกณฺห : ค. ดำยิ่ง
  19. อปณฺณกปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติไม่ผิด.
  20. กณฺห : (อิต.) กัณหา ชื่อคน.
  21. จกฺกปาณิ : (ปุ.) พระจักกปาณิ (ผู้มีจักรใน พระหัตถ์) ชื่อพระนารายณ์ ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่ออีก๕ ชื่อถือ วาสุเทว หริ กณฺห เกสว. พระนารายณ์หรือพระวิษณุ เป็นชื่อของพระเจ้า องค์เดียวกัน เป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู.
  22. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  23. นิพฺพานคามินี : (อิต.) ปฏิปทาเป็นเครื่อง ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน. ข้อปฏิบัติ ให้สัตว์ถึงพระนิพพาน.
  24. นิพฺพานสมฺปทา : อิต. ปฏิปทาให้ถึงพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
  25. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  26. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  27. กิณฺห : ค. ดำ, ชั่ว, เลว
  28. กณฺหวณฺฏา : (อิต.) แคฝอย วิ. กณฺหํ ปุปฺ ผวณฺฏํ ยสฺส สา กณฺหวณฺฏา.
  29. [1-28]

(0.0685 sec)