อวสาเทติ : ก. รุกราน, กดขี่, ข่มเหง
อาพาเธติ : ก. กดขี่, ข่มเหง, เบียดเบียน, รังแก
ปีฬน : นป., ปีฬา อิต. การเบียดเบียน, การกดขี่, การข่มเหง
นิปฺปีเฬติ : ก. บีบคั้น, กดขี่, เบียดเบียน
นิโรเธติ : ก. ดับ, ทำลาย, หมดสิ้น, กดขี่, กั้น
ปฏิปีเฬติ : ก. บีบคั้น, กดขี่, เบียดเบียน
ปสหติ : ก. ใช้กำลังรุกราน, ข่มเหง, เบียดเบียน
มทฺทติ : ก. ขยี้, ทำลาย, กดขี่, นวด, คั้น, ขยำ
อธิพาเธติ : ก. รบกวน, กดขี่, เบียดเบียน, แทง
อภินิปฺปีเฬติ : ก. บีบคั้น, เบียดเบียน, กดขี่
อภิปีเฬติ : ก. เบียดเบียน, กดขี่
อภิมทฺทติ : ก. เหยียบย่ำ, ขยำ, ปราบ, ครอบงำ, กดขี่
อุปปีเฬติ : ก. เบียดเบียน, กดขี่, บีบคั้น
อุพฺพาธติ : ก. เบียดเบียน, กดขี่
โอมทฺทติ : ก. ขยำ, บีบ; กดขี่, เหยียบย่ำ
วฺยถติ : ก. กดขี่, ปราบปราม
หฐ : (วิ.) ข่มเหง, กุมเหง, หักหาญเอา, พลการ. หฐฺ พลกฺกาเร, อ. ส. หฐ.
อุปฺปีเฬติ : ก. กดขี่, เบียดเบียน
นิคฺคาหก : ค. ผู้ติเตียน, ผู้ข่มขู่, ผู้กดขี่
นิปจฺจวาที : ค. ผู้กล่าวทับถม, ผู้กล่าวกดขี่, ผู้กล่าวให้ตกต่ำ
นิปฺปีฬน : นป. การบีบคั้น, การกดขี่, การเบียดเบียน
ปฏิปีฬน : นป. การบีบคั้น, การกดขี่, การเบียดเบียน
ปฏิปีฬิต : กิต. (อันเขา) บีบคั้นแล้ว, กดขี่แล้ว
ปรวมฺภ, - ภน : ป., นป. การข่มเหงผู้อื่น, การดูหมิ่นคนอื่น
ปรวมฺภิตา : อิต. ความเป็นผู้มักข่มเหงผู้อื่น, มีนิสัยชอบข่มเหงคนอื่น
ปีฬก :
๑. ป. ดู ปิลก๒. ค. ซึ่งเบียดเบียน, ซึ่งข่มเหง
พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
สาฐ : (ปุ.) การกุมเหง, การข่มเหง, การรังแก, การข่มขี่. สาฐฺ พลกฺกาเร, อ.
อฏฺฏิต : กิต. ๑. ถูกกดขี่ ;
๒. เศร้าโศก, เสียใจ
อทฺทิต : กิต. ถูกกดขี่, ถูกเบียดเบียน
อนูปฆาต : (ปุ.) การไม่เข้าไปเบียดเบียน, การไม่เบียดเบียน, การไม่ทำร้าย, การไม่ข่มเหง, การไม่รังแก, อนูปฆาต (การไม่เบียดเบียนด้วยกายคือการไม่รังแกเขา ข่มเหงเขา ทำให้เขาช้ำใจ เจ็บใจ สะเทือนใจ).
อภินิปฺปีฬนา : อิต. การบีบคั้น, การเบียดเบียน, การกดขี่
อภินิหต : กิต. กดขี่แล้ว, ทารุณ, ประหารแล้ว
อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
อภิภวน : (นปุ.) การครอบงำ, การกดขี่, ความครอบงำ, ความกดขี่.
อภิมทฺทน : นป. การเหยียบย่ำ, การขยำ, การปราบ, การกดขี่
อวฺยาปชฺฌ : ๑. นป. การไม่เบียดเบียน, ความเป็นผู้มีใจกรุณา ;
๒. ค. ปราศจากการกดขี่, มีใจกรุณา
อาพาธิต : กิต. เจ็บไข้แล้ว, ป่วยแล้ว; ถูกข่มเหงแล้ว, ถูกเบียดเบียนแล้ว
อุปฺปีฬ : ค. อันเบียดเบียน, ซึ่งกดขี่
อุปปีฬก : ค. ซึ่งกดขี่, ซึ่งเบียดเบียน, ซึ่งบีบคั้น
อุปฺปีฬน : นป. การเบียดเบียน, การกดขี่, การบีบคั้น
อุปปีฬา : อิต. การเบียดเบียน, การกดขี่, การบีบคั้น
อุปลาสิกา : อิต. ความกระหาย, ความอยาก, ความกดขี่
อุปสฺสฏฐ : กิต. ถูกกดขี่, ถูกทำให้ลำบากแล้ว, ขัดข้องแล้ว