การก : (ปุ.) ผ้ากรองน้ำ, คนผู้ทำ. ทาง ไวยากรณ์ การกมี ๗ มีกัตตุการกเป็นต้น. ส. การก ผู้ทำ.
กิริย : นป., กริยา, กิริยา อิต. กิริยา, กรรม, การกระทำ
กมฺมวาท : ป. ความเห็นว่ากรรมคือการกระทำมีอยู่
กลฺยาณกมฺม : นป. กัลยาณกรรม, กรรมหรือการกระทำที่ดีงาม
กมฺมนิมิตฺต : นป. กรรมนิมิต, เครื่องหมายแห่งการกระทำ
กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
นิหีนกมฺม : นป. กรรมทราม, การกระทำที่ต่ำทราม
ปริกนฺต : ๑. กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่าออกแล้ว;
๒. นป. กรรมที่กระทำด้วยกาย; การกระเสือกกระสนด้วยกาย
ปาปกมฺม : นป. กรรมชั่ว, การกระทำที่ชั่วช้า
ปาปกมฺมนฺต, ปาปกมฺมี, ปาปกร, ปาปการี : ค. มีกรรมชั่ว, มีการกระทำอันเลวทราม
กตฺตุการก : (ปุ.) กัตตุการก ชื่อตัวประธาน ของกัตตุวาจก.
กรณการก : (ปุ.) กรณการก ชื่อของบทนาม นามที่ประกอบด้วยตติยาวิภัติ
พลิการก : ค. ผู้กระทำพลีกรรม, ผู้ถวายเครื่องสังเวย
กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
กปฺปิยการก : (ปุ.) กัปปิยการพ ชื่อคนผู้ทำ ของที่ไม่สมควรแก่สมณะให้เป็นของที่ สมควรแก่สมณะ, ผู้ปฏิบัติพระ, ลูกศิษย์พระ.
กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
กสิกร กสิการ กสิการก : (ปุ.) คนผู้ทำการไถ, คนผู้ทำการเพาะปลูก, ชาวนา, ชาวไร่.
การุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ วิ. กโรติ สีเลนาติ การุโก. ผู้มีปกติทำ วิ. กรณสีโล การุโก. ณุก ปัจ. กัจฯ ๕๓๖.
กูฏฏฺฏการก : ป. ผู้ฉ้อโกง, ผู้สร้างคดีโกง
โกสการก : ป. ตัวไหม
คหการก : ป. ผู้สร้างเรือน
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
จปุจปุการก : อ. ทำเสียงดังจุ๊บๆ จั๊บๆ (ขณะกินหรือดื่ม)
ปตฺติการก : (ปุ.) ทหารราบ, กองเดินเท้า.
เปสุณการก : ค. ผู้ทำการส่อเสียด
พุทฺธกร, พุทฺธการก : ค. (ธรรม) ที่ทำให้เป็นพระพุทธเจ้า
รถการก : ป. ชื่อสระใหญ่
สปฺปายการก : (ปุ.) บุรุษพยาบาล
อคฺฆการก : ป. ผู้คิดราคา
อวคณฺฑการก : ค. ซึ่งทำแก้มตุ่ยๆ
อาการก : นป. ลักษณะ, ท่าทาง, มรรยาท, อาการ, เหตุ
อุปการก : (ปุ.) คนผู้ทำการอุดหนุน, ฯลฯ. มิตรมีอุปการะ.
กมฺมการก : (ปุ.) กรรมการ ชื่อคนที่ทำการงาน ชื่อบทที่ประกอบด้วยทุติยาวิภัติ. ส. กรฺมการก.
ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
กมฺมวิปาก : (ปุ.) ผลอันเกิดแต่กรรม, ผลของ กรรม. ส. กรฺมวิปาก, กรฺมฺมวิปาก.
ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
ผาติกมฺม : (นปุ.) การทำให้เจริญ, ผาติ กรรม ชื่อคำที่ใช้ในวินัยสงฆ์ว่าด้วยการจำหน่ายครุภัณฑ์ โดยเอาของสงฆ์ที่เลวกว่า (มีค่าน้อยกว่า) แลกของดี (มีค่ามากกว่าให้สงฆ์) ฯลฯ.
กรณีย : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ. กรรม...อันพึง ทำ, กิจที่ควรทำ, กิจที่พึงทำ, กิจที่ต้องทำ, กิจจำเป็น, กรัณย์. กรฺ กรเณ, อนีโย, นสฺส ณตฺตํ. ที่เป็นกิริยา ก็เป็น กรณีย เหมือนกัน.
ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
ทุกร ทุกฺกร : (นปุ.) กรรม...อันได้โดยยาก, ความเพียรอัน... ทำได้โดยยาก. ศัพท์ต้น ไม่ซ้อน กฺ.
นิปฺผนฺนรูป : (นปุ.) รูปสำเร็จ, นิปผันนรูป คือรูปอันเกิดจาก กรรม อุตุ และ อาหาร.
อานนฺตริก, - ริย : ค. (กรรมที่ให้ผล) ไม่มีระหว่าง, (กรรม) ที่ไม่ให้กรรมอย่างอื่นเข้ามาแทรก, ติดต่อ, สืบเนื่อง, ทันทีทันใด
อุโปสถกมฺม : (นปุ.) การทำอุโบสถ, อุโบสถ กรรม (การสวดพระปาติโมกข์).
กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.