นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
อปาปุรติ, อปาปุณติ : ก. เปิด (ประตู)
อปารุต : ค. เปิด (ประตู) , ซึ่งถูกเปิดแล้ว
กปาฏ : (นปุ.) บานประตู. กปฺ อจฺฉาทเน, อาโฏ. ส. กปาฏ กพาฏ.
กปิสีส : (ปุ.) ลิ่มไม้, ดาฬประตู. กปิรูปมตฺถ- กตฺตา กปิสีโส.
กวาฏ, กวาฏก : ป., นป. หน้าต่าง, บานประตูหน้าต่าง
กวาฏปิฏฐ : นป. บานประตู
กวาฏพนฺธ : ป. เครื่องผูกประตู
กุลงฺกปาทก : ป. กรอบเชิงฝา
กุลทฺวาร : นป. ประตูแห่งสกุล
โกฏฺฐฏ : (ปุ.) ซุ้ม, ซุ้มประตู.
ขตฺตุ : (ปุ.) คนผู้ขุด, นายสารถี, นายประตู, คนเฝ้าประตู.
คงฺคาทฺวาร : (ปุ. นปุ.) ประตูน้ำ, ปากน้ำ.
คพฺภทฺวาร : นป. ประตูห้อง
คามทฺวาร : นป. ประตูใหญ่, ประตูบ้าน, ประตูเข้าบ้าน
เคหทฺวาร : นป. ประตูบ้าน, ประตูเรือน
โคปุร : (นปุ.) ประตูเมือง, ซุ้มประตู, ซุ้มประตู เมือง. วิ. คุณฺณํ วาจานํ ปุรํ โคปุรํ.
ฆรทฺวาร : นป. ประตูเรือน
ฆรมุข : (นปุ.) ประตูของบ้าน, ประตูบ้าน, หน้ามุข.
จตุทฺวาร : ค. มีทวารสี่, มีสี่ประตู
จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
ฉทฺวาร : นป. ทวารหก, หกประตู, หกช่อง
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
ทฺวารกวาฏ : นป. บานประตู, ประตูและหน้าต่าง
ทฺวารโกฏฺฐก : (ปุ.) ซุ้มประตู.
ทฺวารคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ประตูเมือง, หมู่บ้านนอกประตูเมือง
ทฺวารฏฺฐ : ค., ป. ผู้ยืนอยู่ที่ประตู; ผู้เฝ้าประตู, คนรักษาประตู
ทฺวารโตรณ : นป. เสาระเนียดประตู
ทฺวารปาล : ป. คนเฝ้าประตู, ยามรักษาประตู
ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
ทฺวารปิทหน : นป. การเปิดประตู
ทฺวารพาหา : (อิต.) บานประตู. ทฺวาร+ พาหา.
ทฺวารภตฺต : นป. ภัตที่ประตูเรือน, ภัตซึ่งตั้งไว้ที่ประตูเรือนเพื่อบริจาคทาน
ทฺวารวาตปาน : นป. ประตูและหน้าต่าง
ทฺวารสาลา : อิต. ศาลามีประตู
เทหนี : (อิต.) ธรณีประตู วิ. เทหํ เนติ ปเวเสนาติ เทหนี. เทหปุพฺโพ, นี ปาปุณเน, กฺวิ.
เทหนี, - หลี : อิต. ธรณีประตู
เทหลี : (อิต.) ธรณีประตู วิ. เทหํ ลาติ ปเวเสนาติ เทหลี. ลา อาทาเน, อี.
โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
นครทฺวารปาลก : (ปุ.) คนผู้รักษาซึ่งประตู แห่งพระนคร, ยามรักษาประตูพระนคร.
นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
ปฏิหาร : ป. ประตู, คนเฝ้าประตู, การนำกลับ, การกีดกั้น
ปทฺวาร : นป. บริเวณประตู, ที่หน้าประตู