อุปฺปกฺก : ค. บวมขึ้น, โน, โหนก, พอง
ปโหนก : ค. เพียงพอ, พอเพียง
คณฺฑ : (ปุ.) แก้ม. คณฺฑฺ วทเนกเทเส, อ. คมฺ คติยํ วา, โฑ. วิ. คจฺฉติ สุนภาวนฺติ คณฺ โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ.
เทหธารก : นป. กระดูก
สารีริก : ๑. ค. เกี่ยวข้องกับร่างกาย;
๒. นป. กระดูก
กงฺกล : ป., นป. โครงกระดูก, ร่าง, โซ่
กฏฏฐิก : นป. กระดูกสะเอว, กระดูกสะโพก
กฏิถาลก : นป. กระดูกสันหลังที่จดบั้นเอว
กโปล : (ปุ.) แก้ม, กระพุ้งแก้ม, กำโบล, กโบล. วิ. เกน ชเลน ปูรียเตติ กโปโล. กปุพฺโพ, ปูรฺ ปูรเณ, อโล, รฺโลโป. กปติ ทนฺเต อจฺฉาเทตีติ วา กโปโล. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโล. ส. กโปล.
กรงฺค : นป. ศีรษะ, หัว, กระดูกมนุษย์
กุฏกสีส : (ปุ.) คนหัวโหนก, คนหัวคอน.
โกฏฐฏฐิ : อิต. กระดูกท้อง
ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
ฉวฏฺฐิ : นป. กระดูกผี, ซากศพ
ทนฺตฏฺฐิก : ป. กระดูกฟัน
ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
ทสน : (นปุ.) ฟัน ( กระดูกเป็นซี่ๆอยู่ในปาก ). ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทํศน.
นลาฏฏฺฐิ : (ปุ.) กระดูกหน้าผาก.
ปนฺนค : (ปุ.) สัตว์ผู้มีหัวตกไป, สัตว์ผู้ไม่ไป ด้วยเท้า, ( เคลื่อนไปด้วยกระดูกซี่โครงและ เกล็ด ), งู, นาค, นาคราช. วิ. ปนฺนสิโร คจฺฉตีติ ปนฺนโค. ปนฺนํ คจฺฉตึติ วา ปนฺน โค. ปาเทหิ น คจฺฉตีติ วา ปนฺนโค. ปนฺน ปุพฺโพ, คมุ สปฺปคติยํ, กวิ.
ปาทฏฺฐิก : นป. กระดูกเท้า, กระดูกขา
ปิฏฺฐิกณฺฏก : นป. กระดูกสันหลัง
ปิฏฺฐิวส : ป. กระดูกสันหลัง; ชื่อเรือน
พาหฏฺฐิ : นป. กระดูกแขน
มิญฺช : (นปุ.) เยื่อ, เยื่อในกระดูก, เม็ด, เม็ดใน, เมล็ด.
อกฺขก : นป. กระดูกไหปลาร้า
อกฺข อกฺขก : (ปุ.) ไหปลาร้า คือกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าทั้งสองข้าง, รากขวัญ, กระดูกคร่อมต้นคอ. อกฺ คมเน, โข, สกตฺเถ โก.
อกฺขิคณฺฑ : นป. โหนกตา
องฺคุลฏฺฐิ : (นปุ.) กระดูกแห่งนิ้วมือ, กระดูกนิ้วมือ.
องฺคุลฏฺฐิ : นป. กระดูกนิ้วมือ
อฏฺฐิกงฺกล : ป.โครงกระดูก
อฏฺฐิมย : ค. ทำด้วยกระดูก, สำเร็จด้วยกระดูก
อฏฺฐิมิญฺช : (นปุ.) เยื่อในกระดูก, เยื่อกระดูก.อสฺถิกฤตอสฺถิช.
อฏฺฐิมิญฺช : (นปุ.) เยื่อในกระดูก, เยื่อกระดูก. อสฺถิกฤต อสฺถิช.
อฏฺฐิมิญฺชา : อิต. เยื่อในกระดูก
อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูกเป็นอิต.ก็มี.
อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูก เป็น อิต. ก็มี.
อฏฺฐิสงฺขลิกา : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
อฏฺฐิสงฺฆาต : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
อฏฺฐิสญฺจย : ป. กองกระดูก
อฏฺฐิสญฺญา : อิต. ความสำคัญในกระดูก
อฏฺฐิสณฺฐาน : (นปุ.) ทรวดทรงแห่งกระดูก, ทรงกระดูก.
อฏฺฐิสณฺฐาน : (นปุ.) ทรวดทรงแห่งกระดูก, ทรงกระดูก.
อฏฺฐิอฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺสฏฺโฐอสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป.ศัพท์หลัง ก สกัด. ส.อสฺถิอสฺถิก.
อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
อฏฺฐิ , อฏฺฐิก : นป. ๑. กระดูก,
๒. เมล็ดในผลไม้,
๓. หิน
อวคณฺฑการ : ป. การทำแก้มตุ่ยๆ
อวคณฺฑการก : ค. ซึ่งทำแก้มตุ่ยๆ
อูรฏฐิ : นป. กระดูกขาอ่อน