อภิลงฺฆติ : ก. ขึ้น, ขึ้นไป, ผ่านไป, ข้าม, ล่วง, กระโดดขึ้น
อเวกฺขิปติ : ก. ทิ้งหรือหย่อนเท้าลง, กระโดด
ขนฺทติ : ก. กระโดด
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กนฺตารทฺธาน : นป. ระยะทางไกลอันข้ามได้ยาก, ทางกันดาร
กนฺตารนิตฺถรณ : นป. การข้ามทางกันดาร
กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
คุเณตร คุเณตฺตร : (ปุ.) การข้ามคุณ ความผิด.
ตพฺพิปกฺข : ค. ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งนั้น, ตรงกันข้ามกับสิ่งนั้น
ตรณ : (นปุ.) อันข้าม, อันข้ามไป, อันข้ามน้ำ ไป, อันข้ามแม่น้ำไป, การข้าม, ฯลฯ, เรือ. ตรฺ ตรเณ, ยุ. ส. ตรณ.
ตรติ : ก. ข้าม, ผ่าน, รีบร้อน
ตริตตฺต : นป. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ข้ามหรือผ่านแล้ว, การข้ามพ้นแล้ว
ตริตุ : ป. ผู้ข้าม, ผู้ผ่าน
ตริตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การข้าม, เพื่อข้าม
ตเรสี : ค. ผู้ต้องการจะข้ามไป, ผู้หวังจะผ่านไป
ตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้ผ่าน; ให้รีบเร่ง
ตาเรตุ : ก. ผู้ช่วยให้ข้าม
ติณฺณ : กิต. ข้ามแล้ว, พ้นแล้ว, ผู้ถึงที่สุดทุกข์, ผู้บรรลุนิพพาน
ติณฺณกถงฺกถ, ติณฺณวิจิกิจฺฉ : ค. ผู้มีความสงสัยอันข้ามพ้นแล้ว, ผู้ข้ามความสงสัยแล้ว, ผู้หมดความสงสัยแล้ว
ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
ติตฺถิย : (ปุ.) ชนมีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม, นิครนถ์ผู้มีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม, เดียรถีย์ (นักบวชนอกพุทธศาสนา คนถือลัทธินอก พุทธศาสนา).
ติริยตรณ : นป. การข้ามอย่างขวางๆ
ทิฏฺฐิวิสูก : นป. ทิฐิอันเป็นข้าศึก, ลัทธิตรงข้าม, ความเห็นผิด
ทุตฺตร : ค. ซึ่งข้ามได้ยาก
ธุวนาวา : อิต. เรือประจำท่า, เรือที่ข้ามฟากไปมาเป็นประจำ, เรือจ้าง
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
นิตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ให้พ้น, ให้ก้าวล่วง, ให้ผ่านไป
นิตฺติณฺณ : ค. ซึ่งข้ามได้แล้ว, อันผ่านพ้นไปแล้ว
นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
นิตฺถาร : ป. การข้ามไป, การผ่านไป, การทำให้สำเร็จลุล่วงไป, การชำระ
ปกฺขนฺทติ : ก. แล่นไป, กระโดดไป
ปจฺจนีก : ค. เป็นข้าศึกกัน, ตรงกันข้าม, ปัจนึก
ปฏิเกฬนา : อิต. การเล่นโต้กลับ, การเล่นฝ่ายตรงข้าม; การเย้ยหยันตอบ
ปฏิติตฺถ : นป. ฝั่งตรงข้าม (ของแม่น้ำ)
ปฏิทิสา : อิต. ทิศตอบ, ทิศตรงข้าม, ด้านตรงข้าม
ปฏิปกฺข : ป., ค. ปฏิปักษ์, ฝ่ายตรงข้าม, ศัตรู; ซึ่งเป็นปฏิปักษ์
ปฏิปกฺขิก : ค. ซึ่งเป็นไปในฝ่ายตรงข้าม; ซึ่งอยู่ในฝ่ายตรงข้าม, อันเป็นปฏิปักษ์
ปฏิปถ : ป. ทางตรงข้าม, ทางขวางหน้า, ทางสวนกัน
ปฏิมุข : ค. ตรงข้าม, ซึ่งอยู่เฉพาะหน้า, ซึ่งเผชิญหน้า, เฉพาะหน้า, ต่อหน้า
ปฏิโยธ : ป. นักรบฝ่ายศัตรู, ทหารฝ่ายตรงข้าม, การต่อสู้ของฝ่ายตรงข้าม
ปฏิราช : ป. พระราชาฝ่ายตรงข้าม, ราชาผู้เป็นศัตรู
ปฏิโลม : ค. ปฏิโลม, ตรงกันข้าม, ขัดกัน, ทวนกลับ
ปฏิโลมปกฺข : ป. ฝ่ายที่ตรงกันข้าม, ฝ่ายค้าน, ส่วนตรงข้าม
ปตรติ : ก. ผ่านไป, ซึมซาบ, ข้ามไป, ไหลท่วมไป, ล้น, เดือดพล่าน
ปตาเรติ : ก. ให้ผ่านไป, ให้ซึมซาบ, ให้ข้ามไป, ให้ไหล, ให้ท่วมไป, ให้ล้น, ให้เดือดพล่าน
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปรปฺปวาท : ป. ลัทธิของผู้อื่น, ลัทธิตรงข้าม