กิริย : นป., กริยา, กิริยา อิต. กิริยา, กรรม, การกระทำ
ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
กาลกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งความตาย, ความตาย, วิ. กาโล อตีตาทิ, ตสฺส กิริยา กาลกิริยา. ไทยใช้ กาลกิริยา เป็น กริยา ว่า ตาย.
กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ
ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
โกริยา : อิต. แม่ไก่
กิจฺจ : (นปุ.) กรรมอัน...พึงทำ, กรรมอัน...ย่อม ทำ. วิ. กตฺตพฺพนฺติ กิจฺจํ. กริยเตติ วา กิจฺจํ. กรฺ กรเณ, ริจฺโจ. ที่ใช้เป็นกิริยาเป็น กิริยาคุมพากย์ได้.
สุกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยง่าย, อัน...ทำได้ง่าย. วิ. สุเขน กริยตีติ สุกรํ. ข ปัจ. ลบ ข ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เหมือนบทที่ประกอบด้วยอนีย์ ตพฺพ หรือ ต ปัจ. ได้. ผู้มีมืองาม. วิ. สุนฺทโร กโร ยสฺส โส สุกโร.